Previous Page  296 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 296 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

295

2540-2541) ในลั

กษณะเดี

ยวกั

นแต่

ได้

วาดภาพประกอบและกล่

าวถึ

งบทบาท

ของการประมงพานิ

ชย์

ที่

มี

ส่

วนท�

ำลายทรั

พยากรธรรมชาติ

และท�

ำลายวิ

ถี

ชี

วิ

ประมงพื้นบ้

านด้วย ส่

วนงานศึกษาหัตถกรรมเครื่องหวายของผู้ต้

องขังในเรือนจ�

กลางนครศรีธรรมราช จังหวัดนครศรีธรรมราช (พีระศักดิ์ จันทร์ประเสริฐ, 2545)

นอกจากเป็

นการรวบรวมว่ามีการผลิตหัตถกรรมชนิ

ดใดบ้

างแล้

วยังศึกษารูปแบบ

และลายเครื่

องหวาย ขั้

นตอนการผลิ

ตและการจ�

ำหน่

าย รวมทั้

งศึ

กษาผลกระทบอั

เกิ

ดจากการผลิ

ต ด้านรูปแบบของเครื่

องหวายมี

2 รูปแบบ คื

อ เครื่

องหวายที่

เป็น

เครื่องเรือน และเครื่องหวายที่เป็นภาชนะ รูปแบบดังกล่าวมีลักษณะรูปแบบของ

ท้

องถิ่

นภาคใต้

ทั่

วไปและแบบประยุ

กต์

ของภาคกลาง ในการสานใช้

ลายพื้

นบ้

าน

แบบดั้งเดิมและลายสานประดิษฐ์ ส�ำหรับการผลิตและการจ�ำหน่ายทั้งวัสดุ และ

เครื่

องมื

อจั

ดซื้

อจากทั้

งภายในและภายนอกจั

งหวั

ดนครศรี

ธรรมราช ทุ

นที่

ใช้ได้จาก

การจ�

ำหน่ายผลิ

ตภั

ณฑ์ในลั

กษณะหมุ

นเวี

ยน กระบวนการผลิ

ตใช้แรงงานผู้ต้องขั

โดยท�ำในรูปกลุ่

มผู้

ผลิ

ตซึ่

งช่

วยเหลื

อกั

นสอนและผลิ

ตร่

วมกั

น ส่

วนการจ�

ำหน่

ายร้

าน

ผลิตภัณฑ์เรือนจ�

ำกลางเป็นผู้ด�

ำเนิ

นการ มีการจ�ำหน่ายในโอกาสต่างๆ เช่น งาน

เทศกาล และงานนิ

ทรรศการผลิ

ตภั

ณฑ์

ราชทั

ณฑ์

การผลิ

ตเครื่

องหวายของที่

นี่

ท�

ำให้

ผู้ต้องขังมีความรู้ความสามารถด้านอาชีพผลิตภัณฑ์ที่ผลิตมีคุณภาพ ผู้ผลิตและ

บุ

คคลที่

เกี่

ยวข้

องมี

สภาพจิ

ตใจที่

ดี

มี

ความผูกพั

นต่

อกั

นและต่

องาน แต่

วั

สดุ

การ

ผลิ

ตบางอย่

างและฝุ่

นมี

ผลกระทบต่

อสุ

ขภาพ อย่

างไรก็

ตามการผลิ

ตดั

งกล่

าวส่

งผล

ต่

อทรั

พยากรหวายหากมิ

ได้

ปลูกทดแทน และผู้

ผลิ

ตบางคนมี

โอกาสติ

ดสารระเหยที่

น�

ำมาใช้ในการผลิ

ตซึ่

งส่งผลต่อสุ

ขภาพ

ผลงานศึ

กษาค้

นคว้

าเรื่

อง สวนสมรม (อร่

ามรั

ศมิ์

ด้

วงชนะ, 2542) ซึ่

งศึ

กษา

ในพื้

นที่

จั

งหวั

ดสุ

ราษฎร์

ธานี

จั

งหวั

ดชุ

มพร และจั

งหวั

ดระนอง นั

บเป็

นงานเรื่

องแรกที่

พยายามมองสวนสมรมอย่

างเป็

นระบบ แล้

วประมวลเรื่

องสวนสมรมใน 3 จั

งหวั

ดว่

ในช่วงที่

ศึ

กษานั้

น (พ.ศ.2542) ยั

งคงมี

สวนสมรมเหลื

ออยู่เป็นจ�

ำนวนมากในจั

งหวั

สุ

ราษฎร์

ธานี

โดยเฉพาะในพื้

นที่

อ�

ำเภอคี

รี

รั

ฐนิ

คม อ�

ำเภอพนม และอ�

ำเภอบ้

านตาขุ

ในจั

งหวั

ดชุ

มพรมี

สวนสมรมมากในพื้

นที่

อ�

ำเภอหลั

งสวนและอ�

ำเภอพะโต๊ะ ส่วนใน