294
สืบโยดสาวย่าน
5.6 พลังของศิลปวัฒนธรรมในวิถีของการด�ำเนินชีวิต
ในกลุ
่
มนี้
มี
งานศึ
กษาทั้
งงานเขี
ยนประเภทบทความ งานวิ
จั
ย และ
วิ
ทยานิ
พนธ์
ครอบคลุ
มเนื้
อหาเกี่
ยวกั
บ การเกษตรกรรม อาหารและยา และ
คุ
ณธรรมจริ
ยธรรมในการด�
ำเนิ
นชี
วิ
ต
ด้
านการเกษตร มี
งานศึ
กษาเกี่
ยวกั
บแหล่
งน�้
ำ คื
อ ตระพั
ง ในพื้
นที่
คาบสมุ
ทร
สทิ
งพระ จั
งหวั
ดสงขลา (ทรงพรรณ สั
งฆะโต, 2544) โดยมุ่งศึ
กษาเกี่
ยวกั
บสภาพ
ของตระพัง การใช้ประโยชน์จากตระพั
ง ปัญหาและแนวทางในการพั
ฒนาตระพั
ง
ด้
วยการเก็
บรวบรวมข้
อมูลในพื้
นที่
พบว่
า ตระพั
งที่
ตั้
งอยู่
ในพื้
นที่
อ�ำเภอระโนด
อ�
ำเภอสทิ
งพระ และอ�ำเภอสิ
งหนคร สถานที่
ตั้
งของตระพั
งมี
ความสั
มพั
นธ์กั
บการ
ตั้
งถิ่
นฐานของคนในชุ
มชน ได้แก่ บริ
เวณพื้
นที่
เกษตรกรรม บริ
เวณชายฝั่ง เป็นต้น
ด้านปัญหาและแนวทางในการพั
ฒนาตระพั
ง คื
อ ปัญหาความตื้
นเขิ
น น�้
ำเน่าเสี
ย
และการบุ
รุ
กพื้
นที่
ตระพั
ง ผู้
วิ
จั
ยได้
เสนอแนวทางการพั
ฒนา คื
อ การขุ
ดลอกตระพั
ง
เพื่อใช้เป็นแหล่างน�้ำสาธารณประโยชน์ การพัฒนาให้เป็นแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น�้ำ
การจั
ดภูมิ
ทั
ศน์ให้เป็นสถานที่
พั
กผ่อน และการอนุ
รั
กษ์เป็นแหล่งโบราณคดี
ส่
วนการศึ
กษาเกี่
ยวกั
บเครื่
องมื
อประมงพื้
นบ้
านของจั
งหวั
ดสงขลา (ประภาส
ทองนิ
ล, 2542) มุ
่
งศึ
กษาโดยการรวบรวม และให้
รายละเอี
ยดรวมทั้
งการใช้
ประโยชน์
ของเครื่
องมื
อประมงประจ�
ำที่
ซึ่
งเป็
นเครื่
องมื
อที่
ไม่
สามารถเคลื่
อนย้
ายไปท�
ำการ
ประมงในที่ต่างๆ ได้ เพราะเป็นเครื่องมือขนาดใหญ่ และมีอุปกรณ์ประกอบมาก
เครื่
องมื
อประเภทนี้
ได้แก่ ไซดั
กกุ้ง ไซนั่
ง บาม โป๊ะน�้
ำลึ
ก โพงพางหลั
ก ยอ เป็นต้น
และเครื่
องมื
อประมงไม่
ประจ�
ำที่
เป็
นเครื่
องมื
อที่
สามารถเคลื่
อนย้
ายไปท�
ำการประมง
ในที่ต่างๆ ได้ง่าย เพราะมีขนาดเล็กและมีอุปกรณ์ประกอบไม่มากนั
ก ได้แก่ กัด
ข้
องนั่
ง จั่
นหอยหวาน ฉมวก ไซนอน เบ็
ด ยอมื
อ สุ่
ม เป็
นต้
น เครื่
องมื
อประมงเหล่
า
นี้
มี
ลั
กษณะ วั
สดุ
อุ
ปกรณ์ที่
ใช้ท�
ำ การใช้ประโยชน์และการเก็
บรั
กษาที่
แตกต่างกั
น
นอกจากนี้
ยั
งมี
งานศึ
กษาเครื่
องมื
อพื้
นบ้
านจากอ่
าวพั
งงา (จรูญ นุ
้
ยปาน,