Previous Page  294 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 294 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

293

บทความเรื่

อง วั

งยะหริ่

ง (จุ

รี

รั

ตน์

บั

วแก้ว, 2542) ผู้ศึ

กษาเก็

บรวบรวมข้อมูล

เอกสารมาเรี

ยบเรี

ยงโดยให้

ผู้

รู้

ตรวจสอบ สาระส�

ำคั

ญกล่

าวถึ

งวั

งยะหริ่

ง ว่

าเป็

นวั

งที่

ประทั

บของพระยาเมื

อง ยะหริ่

ง เจ้

าเมื

องปั

ตตานี

ผู้

สร้

างวั

งยะหริ่

ง คื

อ สถาปนิ

กชาว

จี

นและช่

างในท้

องถิ่

น สร้

างเมื่

อปี

พ.ศ.2358 ลั

กษณะรูปทรงของวั

งเป็

นบ้

านสองชั้

ครึ่

งปูนครึ่

งไม้

แบบเรื

อนไทยมุ

สลิ

มผสมกั

บแบบบ้

านแถบยุ

โรปสมั

ยก่

อนสงครามโลก

ครั้

งที่

2 ซึ่

งเป็

นที่

นิ

ยมของบรรดาข้

าราชการชั้

นสูงและผู้

มี

อั

นจะกิ

นในสมั

ยนั้

น ตั

วังมีลักษณะคล้ายตัวยู (U) เนื่องจากวังสร้างมาเป็นเวลานาน จึงช�

ำรุดทรุดโทรม

ไปตามกาลเวลา แต่ก็ได้รับการซ่อมแซมต่อเติมเพื่อให้เหมาะสมกับสภาพปัจจุบัน

จากสภาพโดยทั่

วไปของวั

งยะหริ่

งทั้

งรูปทรงและการตกแต่

งภายใน ตลอดจนสิ่

งของ

เครื่

องใช้

สะท้

อนให้

เห็

นถึ

งการรั

บอิ

ทธิ

พลของสถาปั

ตยกรรมและศิ

ลปะต่

างๆ ทั้

งจาก

ตะวั

นตก อิ

นโดนี

เซี

ย และมาเลเซี

ยเข้

ามาผสมผสานกั

บศิ

ลปกรรมไทยได้

อย่

าง

กลมกลื

น อี

กทั้

งยั

งสะท้อนให้เห็

นความเจริ

ญรุ่งเรื

องของปัตตานี

ในสมั

ยนั้

นด้วย วั

ยะหริ่

งจึ

งมี

คุ

ณค่าต่อการศึ

กษาประวัติ

ศาสตร์ท้องถิ่

นปัตตานี

เป็นอย่างยิ่

มีงานวิทยานิพนธ์ 2 เรื่องที่ศึกษาชีวประวัติและผลงานของนายหนั

งตะลุง

คื

อ หนั

งตะลุ

งจั

นทร์

แก้

ว บุ

ญขวั

ญ (สมพงษ์

ศรี

นิ

ล, 2543) และหนั

งพร้

อมน้

อย ตะลุ

สากล (ธ�

ำรงสวั

สดิ์

บุ

ญจุ

น, 2544) งานวิ

ทยานิ

พนธ์ทั้

ง 2 เรื่

องนี้

ใช้กรอบเนื้

อหาที่

ศึ

กษาอย่

างเดี

ยวกั

น กล่

าวถึ

งประวั

ติ

ชี

วิ

ตในวั

ยเด็

ก การศึ

กษาเล่

าเรี

ยน ความสนใจ

หนั

งตะลุง การฝึกหัดหนั

งตะลุง การแสดงหนั

งตะลุง ชีวิตครอบครัว ผลงานการ

แสดง ผลการฝึ

กหั

ดลูกศิ

ษย์

ผลงานด้

านการช่

วยเหลื

อสั

งคม และชี

วิ

ตบั้

นปลาย

แม้

จะเป็นงานศึกษาที่ใช้

กรอบศึกษาเดียวกัน แต่

ผู้

ศึกษาใช้

วิธีการศึกษาด้

วยการ

เก็

บข้

อมูลภาคสนามเป็

นส่

วนใหญ่

ท�

ำให้

ได้

ข้

อมูลอั

นเป็

นประโยชน์

ทั้

งต่

อวงการหนั

ตะลุง และประวั

ติ

ศาสตร์ โดยเฉพาะบุ

คคลส�

ำคั

ญที่

เกี่

ยวกั

บการแสดงของภาคใต้