290
สืบโยดสาวย่าน
การขุ
ดค้นพบมากที่
สุ
ดได้แก่ พระโพธิ
สั
ตว์อวโลกิ
เตศวร จากการค้นพบปรากฏว่า
มี
ทั้
งเป็นศิ
ลปะของจีนและอิ
นเดี
ย
บทความเรื่
อง เทคโนโลยี
และศิ
ลปกรรมสมั
ยโบราณในภาคใต้
(อมรา
ศรีสุชาติ, 2542) ได้เสนอสาระซึ่งศึกษาจากโบราณวัตถุ และหลักฐานโบราณคดี
ตั้
งแต่
สมั
ยก่
อนประวั
ติ
ศาสตร์
และสมั
ยแรกเริ่
มประวั
ติ
ศาสตร์
พบว่
า มี
วั
ตถุ
ดิ
บที่
เป็
น
ปั
จจั
ยส�
ำคั
ญต่
อการก�
ำเนิ
ด และพั
ฒนาการทางเทคโนโลยี
ของประดิ
ษฐกรรม ได้
แก่
ไม้ซึ่
งนอกจากจะใช้เป็นวั
ตถุ
ดิ
บส�
ำหรั
บประดิ
ษฐกรรมในสมั
ยแรกๆ เช่น ภาพเขี
ยน
บนฝาผนั
งถ�้
ำต่างๆ แล้ว ยั
งเป็นหลั
กฐานส�ำคั
ญต่อการก�
ำหนดอายุ
สมั
ยของชุ
มชน
และยั
งแสดงถึ
งขั้
นตอนส�
ำคั
ญของการพั
ฒนาทางเทคโนโลยี
ของโบราณ ตั้
งแต่การ
รู้จักใช้ไม้อันอาจเกิดจากการน�ำไม้มาขัดสีให้เกิดไฟ ซึ่งเป็นผลที่น�ำไปสู่การค้นพบ
เทคโนโลยีเกี่ยวกับความร้อน นอกจากนั้
นยังมีหิน แร่ประกอบหิน กระดูกเปลือก
หอย ดิ
นปั้น ดิ
นดิ
บ ดิ
นเผา ซึ่
งประดิ
ษฐกรรมเครื่
องปั้นดิ
นเผาที่
ได้แสดงให้เห็
นถึ
ง
ความสั
มพั
นธ์
ของเทคโนโลยี
ความร้
อน และวั
ตถุ
ที่
เป็
นดิ
นที่
ส�
ำคั
ญอี
กอย่
างหนึ่
ง
คื
อ ท�
ำให้
มี
การสร้
างเตาเผา และอิ
ฐ ส�
ำหรั
บสถาปั
ตยกรรมและเทคโนโลยี
เกี่
ยว
กั
บความร้
อนที่
พั
ฒนาในระดั
บสูงขึ้
น นอกจากนี้
ยั
งมี
โลหะหลอมมี
การพบหลั
ก
ประกอบที่
แสดงให้
เห็
นว่
าคนในชุ
มชนโบราณภาคใต้
รู้
จั
กเทคโนโลยี
ของงานโลหะ
กรรม คื
อ การพบเบ้าหลอมโลหะ และเครื่
องประดั
บ ส่วนประดิ
ษฐกรรมต่างๆ เช่น
การกะเทาะและขัดแต่งหินให้เป็นประดิษฐกรรม ศิลปกรรมบนฝาผนั
งหิน การท�
ำ
เครื่
องปั้นดิ
นเผา การท�ำลูกปัดแก้ว สิ่
งเหล่านี้
แสดงให้เห็
นถึ
งการมี
พั
ฒนาการทาง
ด้านเทคโนโลยี
และศิ
ลปกรรมสมั
ยโบราณของคนโบราณในภาคใต้ได้เป็นอย่างดี
ส่วนบทความเรื่
อง เขาขุนพนม : จากหน้าเขาถึ
งหลั
งเขา (สมพุ
ทธ ธุ
ระเจน,
2541) มี
สาระส�
ำคั
ญเกี่
ยวกั
บสภาพทางกายภาพของเขาขุ
นพนมว่
ามี
ถ�้
ำอยู่
เป็
นจ�
ำนวนมาก จากการส�
ำรวจของโบราณคดี
พบว่
าถ�้
ำดั
งกล่
าวน่
าจะเป็
น
แหล่
งพั
กอาศั
ยชั่
วคราวหรื
อล่
าสั
ตว์
ของคนก่
อนยุ
คประวั
ติ
ศาสตร์
หลั
กฐาน
ที่
พบนอกจากเครื่
องมื
อหิ
นขั
ด เศษภาชนะดิ
นเผาเนื้
อหยาบที่
มี
การแต่
งลาย
เชื
อกทาบแล้
ว ยั
งพบหลั
กฐานสมั
ยประวั
ติ
ศาสตร์
ยุ
คต้
นที่
แสดงว่
าเคยเป็
น