Previous Page  237 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 237 / 326 Next Page
Page Background

236

สืบโยดสาวย่าน

ส่

วนประกอบไม้

ยางพาราเพื่

อพั

ฒนาบรรจุ

ภั

ณฑ์

(พิ

ชั

ย สุ

ขวุ่

น, 2546) งานชิ้

นนี้

มี

การ

จัดเวทีชาวบ้านเพื่อหาแนวทางความต้องการของชุมชนที่ผลิตไข่เค็มไชยา อ�

ำเภอ

ไชยา และผี

เสื้

อใบยางพาราควนสุ

บรรณ อ�ำเภอบ้านนาสาร จั

งหวั

ดสุ

ราษฎร์ธานี

พบว่

า ชุ

มชนต้

องการบรรจุ

ภั

ณฑ์

ที่

ใช้

วั

สดุ

ในท้

องถิ่

นที่

สามารถผลิ

ตเองได้

สร้

างมูลค่

เพิ่

มให้

แก่

สิ

นค้

า และไม่

ส่

งผลกระทบต่

อสิ่

งแวดล้

อม ได้

วั

สดุ

ที่

ตรงกั

บความต้

องการ

ของชาวบ้าน คื

อ ไม้ยางพารา หลั

งจากนั้

นน�

ำมาพั

ฒนาเป็นบรรจุ

ภั

ณฑ์และน�

ำไป

ใช้เป็นบรรจุภัณฑ์ไข่เค็มไชยาและผีเสื้อใบยางพารา หลังการติดตามผลพบว่าแม้

บรรจุภัณฑ์ที่ออกแบบสามรถเพิ่มมูลค่าให้กับไม้ยางพารา แต่มีต้นทุนการผลิตสูง

กว่ากล่องกระดาษ และมีน�้ำหนั

กมากกว่าและยากต่อการขนส่ง

การศึกษาปัจจัย

ที่ส่งผลส�ำเร็จต่อธุรกิจชุมชนกรณีผลิตภัณฑ์กะปิหมู่บ้านเกาะแรต อ�

ำเภอดอนสัก

จังหวัดสุราษฎร์ธานี

(มาโนชย์ นวลสระ, 2545) งานชิ้นนี้

กล่าวถึง ชาวบ้านเกาะ

แรตซึ่

งเป็

นชาวไทยเชื้

อสายจี

นมี

วิ

ถี

ชี

วิ

ตเกี่

ยวข้

องกั

บอาชี

พประมง เมื่

อทรั

พยากร

สั

ตว์น�้

ำร่อยหรอ รายได้จากการจั

บสั

ตว์น�้

ำไม่เพี

ยงพอต่อการด�

ำรงชี

พ หญิ

งสตรี

จึ

แปรรูปวั

ตถุ

ดิ

บจากทะเล ที่

ประสบความส�ำเร็

จและเป็

นที่

รู้

จั

กกั

นอย่

างแพร่

หลาย

คื

อ ผลิ

ตภั

ณฑ์กะปิ ชาวบ้านที่

รวมกลุ่มได้พั

ฒนารูปแบบ โครงสร้างการผลิ

ต และ

การตลาด พยายามเน้นการจัดการธุรกิจชุมชนด้วยการสร้างเครือข่ายภายในและ

ภายนอก มี

หน่

วยงานรั

ฐบาลให้

การสนั

บสนุ

น และได้

รั

บความร่

วมมื

อจากผู้

น�

ำชุ

มชน

สามารถคงไว้

ภูมิ

ปั

ญญาท้

องถิ่นการผลิ

ตแบบดั้งเดิมได้

ท�

ำให้

ธุ

รกิ

จชุมชนของที่

นี่

ประสบความส�

ำเร็

จอย่างยั่

งยื

ส�

ำหรั

บงานวิ

จั

ยเชิ

งปฏิ

บั

ติ

การแบบมี

ส่

วนร่

วม นอกจากการศึ

กษาเอกสาร

และเก็

บข้อมูลภาคสนาม สั

มภาษณ์บุ

คคลและกลุ่มสนทนาแล้ว ยั

งเน้นการจั

ดเวที

ชุมชนเพื่อแสวงหาค�ำตอบและผลักดันให้เกิดการมีส่วนร่วม งานกลุ่มนี้มี 4 เรื่อง

ได้

แก่

การวิ

จั

ยปฏิ

บั

ติ

การถ่

ายทอดองค์

ความรู้

เพื่

อพั

ฒนาชุ

มชนพื้

นที่

ป่

าต้

นน�้

ำ ต�

ำบล

เขาพระ อ�

ำเภอรั

ตภูมิ

จั

งหวั

ดสงขลา

(ศรี

สุ

ดา รั

ตนะ, 2548) งานวิ

จั

ยชิ้

นนี้

กล่าวถึ

ชุ

มชนต้นน�้

ำเขาพระว่า มี

ทรั

พยากรธรรมชาติ

ที่

อุ

ดมสมบูรณ์ มี

วิ

ถี

ชี

วิ

ตที่

เกื้

อกูลกั

ระหว่

างคนกั

บคน คนกั

บธรรมชาติ

กั

นมายาวนาน วั

ฒนธรรมและภูมิ

ปั

ญญาท้

องถิ่

ที่

เป็นเอกลักษณ์ของชุ

มชน คื

อ อาหาร ยารั

กษาโรค งานหั

ตถกรรม การเกษตรพื้