งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
241
สังคม และแนวทางในการแก้
ปั
ญหา ได้
แก่
บั
นทึ
กประชาชน : มุสลิ
มในจั
งหวั
ด
ชายแดนภาคใต้
(มั
นโชร์ สาและ, 2547) บทความนี้
กล่าวถึ
ง ประชาชนในจั
งหวั
ด
ปั
ตตานี
ยะลา นราธิ
วาส และสตูลว่
าเป็
นชุ
มชนมี
ประวั
ติ
ศาสตร์
และอารยธรรม
เฉพาะตนที่
มี
ความเป็
นเอกราชและเสมอภาคมาแต่
อดี
ต แต่
ด้
วยกลไกทางการ
เมื
องในสมั
ยรั
ตนโกสิ
นทร์ คื
อ น�
ำวิ
ธี
การแบ่งแยกและปกครองมาใช้ท�
ำให้มุ
สลิ
มใน
จั
งหวั
ดดั
งกล่
าวอ่
อนแอลง ในระยะหลั
งเมื่
อข้
าราชการไทยพุ
ทธเข้
าไปปฏิ
บั
ติ
ราชการ
มี
การวางอ�
ำนาจเหนื
อประชาชนความขั
ดแย้งจึ
งเพิ่
มมากขึ้
น ประมาณปี
พ.ศ.2477
ความคิ
ดเกี่
ยวกั
บชาติ
นิ
ยมของไทยสูงขึ้
น กลุ
่
มชาติ
นิ
ยมของชาวไทยมุ
สลิ
มมี
การ
เคลื่
อนไหวต่
อสู้
อย่
างลั
บๆ และเรี
ยกร้
องให้
รั
ฐบาลด�
ำเนิ
นการในเรื่
องต่
างๆ เช่
น
การยอมรั
บภาษามลายูเป็นภาษาราชการ และการจั
ดเก็
บภาษี
เป็นต้น อี
กทั้
งได้มี
การประท้วงใหญ่หลายครั้งในเวลาต่อมา และทุกวันนี้สถานการณ์ก็ยัง ตึงเครียด
และความขั
ดแย้งที่
เกิ
ดขึ้
นได้ถูกตี
ความไปหลายๆ อย่าง และการเผชิ
ญหน้าในเชิ
ง
อุ
ดมการณ์
ก็
อาจทวี
ความรุ
นแรงมากขึ้
นด้
วย
วิ
กฤตการณ์
ทางวั
ฒนธรรมกั
บแนว
การแก้ปัญหาในมิ
ติ
ภูมิ
ปัญญาชาวบ้าน
(พรพั
นธุ์ เขมคุ
ณาศั
ย, 2542) บทความชิ้
น
นี้
น�ำเสนอการวิเคราะห์วิกฤตการณ์ทางวัฒนธรรมของชุมชน การสังเคราะห์สาระ
ภูมิ
ปัญญาชาวบ้านจากวั
ฒนธรรมท้องถิ่
น และแนวการแก้ปัญหาวิกฤตการณ์ทาง
วั
ฒนธรรมในมิ
ติ
ภูมิ
ปั
ญญาของชาวบ้
านว่
า การสูญเสี
ยความภาคภูมิ
ใจในถิ่
นก�ำเนิ
ด
และรากฐานวั
ฒนธรรมของตนจนเกิ
ดความล้
มละลายของชนบททางเศรษฐกิ
จและ
การสูญเสี
ยวั
ฒนธรรมชุ
มชนนั้
นส่
วนหนึ่
งมาจากการพั
ฒนาประเทศที่
ขาดสาระทาง
วั
ฒนธรรมเป็
นองค์
ประกอบร่
วม และการน้
อมรั
บวิ
ทยาการและเทคโนโลยี
แผนใหม่
จากประเทศตะวันตกโดยขาดการไตร่ตรอง ผู้ศึกษาได้สังเคราะห์สาระภูมิปัญญา
ชาวบ้
านจากวั
ฒนธรรมท้
องถิ่
นจากศิ
ลปหั
ตถกรรมพื้
นบ้
าน พบว่
า งานนี้
ปรากฏ
ความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างวิ
ถี
อาชี
พ ภาษาไทยถิ่
น และภูมิ
ปั
ญญาชาวบ้
าน จุ
ดมุ่
งหมาย
เพื่อผลิตใช้ในครอบครัวและใช้ในการประกอบอาชีพ ซึ่งน�ำไปสู่ความเป็นอยู่อย่าง
เรียบง่าย ประหยัด ประณี
ต งดงาม คงทน ส่วนประเพณีพื้นบ้าน ชาวชนบทยัง
คงมี
การสืบทอดอย่างต่อเนื่
อง ซึ่
งสั
มพั
นธ์อยู่กั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตผู้คนในท้องถิ่
นโดยสะท้อน
เอกลักษณ์ชนบทอย่างเด่นชัดทั้งด้านลักษณะอาชีพ สังคมและจริยธรรม ในส่วน