Previous Page  20 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 20 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

19

ใช้

ระเบียบมานุ

ษยวิ

ทยาการดนตรี

คื

อ ศึ

กษาดนตรีที่

ใช้

ประกอบการด�

ำเนิ

นเรื่

อง

ในหนั

งตะลุ

งผลจากการศึ

กษาดั

งกล่

าวท�

ำให้

ความรู้

เกี่

ยวกั

บดนตรี

หนั

งตะลุ

งเป็

ความรู้ใหม่ที่

ลึ

กซึ้

ง ช่วยให้เห็

นพั

ฒนาการเกี่

ยวกั

บดนตรี

หนั

งตะลุ

ง งานดั

งกล่าวจึ

เป็นงานที่

โดดเด่นในกลุ่มนี้

ในกลุ่มภาษาและวรรณกรรม ผลงานศึ

กษาด้านภาษา

ครอบคลุมเนื้อหาเกี่ยวกับวัฒนธรรมการใช้ภาษาถิ่นใต้ ในแง่มุมต่างๆ โดยเน้นที่

อั

กขรวิ

ธี

พั

ฒนาการด้

านการเขี

ยน และอั

ตลั

กษณ์

ที่

แสดงถึ

งความเป็

นท้

องถิ่

นภาคใต้

ส่

วนผลงานด้

านวรรณกรรมที่

ศึ

กษามี

ทั้

งวรรณกรรมมุ

ขปาฐะ วรรณกรรมลายลั

กษณ์

และครอบคลุ

มถึ

งงานวรรณกรรมสมั

ยหลั

ง คื

อ เพลงเพื่

อชี

วิ

ต และเพลงลูกทุ

งภาคใต้

วิ

ธี

วิ

ทยาที่

ใช้

ศึ

กษาวรรณกรรมมุ

ขปาฐะใช้

วิ

ธี

การรวบรวมด้

วยการสั

มภาษณ์

ผู้

รู้

ในท้

องถิ่

น จ�

ำแนกประเภทเนื้

อหาและวิ

เคราะห์

เนื้

อหาตามหลั

กคติ

ชนวิ

ทยา บางชิ้

วิ

เคราะห์

โลกทั

ศน์

และวิ

ถี

ชี

วิ

ตวั

ฒนธรรม ด้

านวรรณกรรมลายลั

กษณ์

มี

ทั้

งงาน

รวบรวม ปริ

วรรต และศึ

กษาวิ

เคราะห์

แต่

ส่

วนใหญ่

เน้

นการวิ

เคราะห์

โครงสร้

าง

หรื

อองค์

ประกอบ ตามด้

วยการวิ

เคราะห์

คุ

ณค่

า ส่

วนงานวรรณกรรมรุ

นใหม่

เน้

การวิเคราะห์ภาพสะท้อนทางสังคมวัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง

ฯลฯ โดยภาพรวมของกลุ่มภาษาและวรรณกรรมได้ช่วยให้เห็นอัตลักษณ์อันแสดง

ถึ

งความเป็

นท้

องถิ่

นภาคใต้

ที่

ชั

ดเจน แต่

วิ

ธี

การศึ

กษาส่

วนใหญ่

ยั

งหนี

ไม่

พ้

นการศึ

กษา

วิ

เคราะห์เนื้

อหาแบบเดิ

มๆ อยู่นั่

นเอง ในกลุ่มโบราณคดี

และประวัติ

ศาสตร์ มี

งาน

ทางโบราณคดี

ที่

มุ

งศึ

กษาแหล่

งโบราณคดี

และประติ

มากรรมในภาคใต้

มี

อยู่

ไม่

กี่

เรื่

อง

ส่วนผลงานศึกษาทางประวัติศาสตร์ มีงานศึกษาเกี่ยวกับเรื่องราวของอาณาจักร

ศรี

วิ

ชั

ย แผนที่

ภาพกั

ลปนาวั

ดพะโคะ ประวั

ติ

ศาสตร์

โบราณคดี

เมื

องพั

ทลุ

ง แหล่

งน�้

อภิ

เษกในภาคใต้

วั

งยะหริ่

ง และบุ

คคลส�

ำคั

ญของภาคใต้

งานด้

านโบราณคดี

ผู้

ศึ

กษา

ได้

ใช้

วิ

ธี

การศึ

กษาทางโบราณคดี

คื

อศึ

กษาข้

อมูลเอกสารเบื้

องต้

นจากเอกสาร

การส�ำรวจ การขุดค้

น การวิเคราะห์

และการแปลความหมาย ท�

ำให้

รายละเอียด

เรื่องที่ศึกษาเป็นองค์ความรู้ที่แจ่มชัด อันเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการศึกษาเรื่อง

ราวในอดี

ตของภาคใต้

อี

กทั้

งช่

วยสนั

บสนุ

นความรู้

ในปั

จจุ

บั

น ส่

วนวิ

ธี

การศึ

กษา

ด้

านประวั

ติ

ศาสตร์

ผลงานส่

วนใหญ่

เน้

นการรวบรวมจากหลั

กฐานชั้

นต้

นและชั้

นรอง

มาเรี

ยบเรี

ยงใหม่ บางเรื่

องมี

การแทรกความคิ

ดเห็

นของผู้ศึ

กษา ผลงานจึ

งเป็นการ