Previous Page  22 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 22 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

21

กลุ่มนี้

แม้ตั้

งอยู่บนฐานของบริ

บทชุ

มชนแต่เนื้

องานขาดน�้

ำหนั

ก เช่น การศึ

กษาการ

เปลี่

ยนแปลงเศรษฐกิ

จของชาวบ้าน เป็นต้น ส่วนงานเชิ

งปฏิ

บั

ติ

การแบบมี

ส่วนร่วม

ถื

อเป็นงานที่

มี

ความโดดเด่น มี

การดึ

งชุ

มชนเข้ามาร่วมจั

ดการความรู้ สกั

ดความรู้

และการแสวงหาค�

ำตอบร่

วมกั

น คื

อ ศึ

กษาการพั

ฒนาผลิ

ตภั

ณฑ์

ด้

านการตลาด

และการสร้

างระบบบั

ญชี

ส�

ำหรั

บธุ

รกิ

จชุ

มชน กรณี

ศึ

กษาการผลิ

ตกาแฟพื้

นบ้

าน

ซึ่

งท�

ำให้

กลุ

มสามารถพั

ฒนาด้

านการผลิ

ต ระบบบริ

หาร กลยุ

ทธการตลาด และ

พั

ฒนาระบบบั

ญชี

จนสามารถน�ำไปสู่

การพั

ฒนาที่

ยั่

งยื

นของชุ

มชน ด้

านการจั

ดการ

ทางวั

ฒนธรรมมี

เนื้

อหาเกี่

ยวกั

บ การศึ

กษาการจั

ดการกิ

จกรรมของกลุ

มชาวบ้

าน

วั

ฒนธรรมการเมื

องการปกครอง ข้

อจ�

ำกั

ดและปั

จจั

ยทางวั

ฒนธรรม แผนธุ

รกิ

จและ

การด�

ำเนิ

นงานวิ

สาหกิ

จชุ

มชน วิ

ธี

วิ

ทยาส่

วนใหญ่

ใช้

วิ

ธี

การรวบรวมข้

อมูลจากเอกสาร

การสั

งเกต การสนทนา การเข้

าร่

วมกิ

จกรรม โดยเน้

นศึ

กษาการบริ

หารจั

ดการกลุ

มออม

ทรั

พย์ หรื

อกลุ่มอาชี

พที่

ประสบความส�

ำเร็

จและเป็นที่

ยอมรั

บ แม้ว่างานลั

กษณะนี้

จะเป็

นการเปิดมุมมองใหม่

แต่

ข้อค้นพบที่ได้

มักเป็นค�

ำตอบที่มีอยู่

แล้ว เช่น การ

ศึ

กษาการจั

ดการกิ

จกรรมกลุ่

มแม่

บ้

านเกษตรกร เป็

นต้

น ส่

วนงานพั

ฒนากลุ่

มอาชี

ต่

างๆ ที่

ศึกษาการด�ำเนิ

นงานของกลุ

ม หลั

กการ และปั

จจั

ยความส�ำเร็

จ ผลการ

ศึ

กษายั

งซ�้

ำซ้

อนกั

บเรื่

องที่

เคยมี

ผู้

ศึ

กษาไว้

แล้

ว ค�

ำตอบที่

ได้

จึ

งแตกต่

างกั

นเฉพาะพื้

นที่

ที่

ศึ

กษา เช่

น การพั

ฒนากลุ

มอาชี

พด้

านเกษตรกรรมตามกระบวนการวิ

สาหกิ

จชุ

มชน

เป็นต้น อย่างไรก็

ตามแม้งานส่วนใหญ่จะเป็นการตอบเชิ

งปรากฏการณ์ แต่ก็

มี

งาน

ที่

โดดเด่นเปิดมุ

มมองใหม่ โดยมองผ่านวั

ฒนธรรมการเมื

องและบริ

บทชุ

มชน ว่าทั้

สองสิ่

งนี้

มี

บทบาทที่

ส�

ำคั

ญต่อการพั

ฒนาทางวั

ฒนธรรมภาคใต้อย่างไร ด้านหน้าที่

และบทบาท มีเนื้อหาเกี่ยวกับ ประวัติและผลงานบุคคลส�

ำคัญ และบทบาทของ

องค์กรและสถาบันต่างๆ ในการพัฒนางานวัฒนธรรม วิธีวิทยาของกลุ่มนี้ มีการ

ศึ

กษาจากเอกสาร ลงพื้

นที่

เก็

บข้อมูลภาคสนาม ใช้แบบสอบถาม แบบสั

มภาษณ์

น�

ำข้

อมูลที่

ได้

มาจ�

ำแนกกลุ่

ม ตรวจสอบความถูกต้

อง เรี

ยบเรี

ยงเนื้

อหา และน�

ำเสนอ

ด้

วยการพรรณนาวิ

เคราะห์

งานส่

วนใหญ่

มี

กรอบการศึ

กษาที่

คล้

ายคลึ

งกั

น บุ

คคลที่

ศึ

กษามั

กเป็นผู้น�

ำชุ

มชน หรื

อพระภิ

กษุ

สงฆ์ นอกจากนี้

ยั

งมี

การศึ

กษาบทบาทของ

องค์

กรและสถาบั

นต่

างๆ ที่

มี

ต่

อการพั

ฒนางานวั

ฒนธรรมภาคใต้

งานที่

โดดเด่