งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้
159
ปริ
มาณงานจากน้อยไปหามากได้ดั
งนี้
สตูล 7 เรื่
อง พั
งงา 12 เรื่
อง กระบี่
12 เรื่
อง
ภูเก็
ต 18 เรื่
อง และศึ
กษาชาวเลในภาพรวมหลายจั
งหวั
ด 10 เรื่
อง การตั
ดสิ
นใจ
เลือกแหล่งศึกษาส่วนหนึ่
ง จึงน่าจะมีส่วนสัมพันธ์กับการเดินทางเข้าถึงแหล่งเช่น
เดี
ยวกั
บกลุ่ม ชาติ
พั
นธุ์ซาไก เช่น เกาะลิ
เป๊ะ จั
งหวั
ดสตูล และเกาะสุ
ริ
นทร์ จั
งหวั
ด
พังงา เป็นแหล่งที่เข้าถึ
งได้ยากเพราะต้องโดยสารเรื
อและขึ้นอยู่กับฤดูกาลจึงมีผล
งานศึ
กษาน้
อย ส่
วนภูเก็
ตเป็
นแหล่
งที่
เข้
าถึ
งได้
ง่
ายที่
สุ
ดจึ
งเป็
นแหล่
งที่
มี
ผู้
เลื
อกศึ
กษา
มากที่สุด จากผลงานทั้งหมดสามารถแบ่งประเด็นเนื้อหาในการศึกษาได้เป็นกลุ่ม
สั
งคมวั
ฒนธรรมและประวั
ติ
ศาสตร์ และกลุ่มอั
ตลั
กษณ์ทางชาติ
พั
นธุ์
เนื้อหากลุ่มสังคม วัฒนธรรม และประวัติศาสตร์ แยกเป็นประเด็น
ย่อย 11 ประเด็น
ประเด็
นศึ
กษาประวั
ติ
ศาสตร์
และโบราณคดี
ไม่
มี
การศึ
กษาโดยตรงแต่
ประเด็
นประวั
ติ
ศาสตร์จะสอดแทรกในเรื่
องอื่
นๆ
ประเด็
นศึ
กษานิ
ทาน ต�
ำนาน 2 เรื่
อง เป็
นบทความเกี่
ยวกั
บ “ต�
ำนานชาวเล”
ทุ
กกลุ่ม 1 เรื่
อง วิ
ทยานิ
พนธ์เรื่
อง “นิ
ทานต�
ำนานของชาวเลอูรั
กลาโว้ย” เกาะลิ
เป๊ะ
จังหวัดสตูล 1 เรื่อง นอกจากนั้
น มีการบันทึกสอดแทรกอยู่ในวิทยานิพนธ์ และ
หนั
งสื
อเรื่
องอื่
นบ้าง
ประเด็นศึกษาการอพยพโยกย้าย แหล่งที่พักอาศัย และจ�
ำนวนประชากร
ไม่มี
การศึ
กษาโดยตรง แต่จะสอดแทรกในเรื่
องอื่
นๆ
ประเด็
นศึ
กษา ประเพณี
ความเชื่
อ พิ
ธี
กรรม 2 เรื่
อง เป็
นบทความและ
วิ
ทยานิ
พนธ์ กรณีศึ
กษาชุ
มชนชาวเลอูรั
กลาโว้ย จั
งหวั
ดกระบี่
ประเด็
นศึ
กษา ด้
านการศึ
กษา ภาษาและวรรณกรรม มี
ผลการศึ
กษา 8 เรื่
อง
กรณี
ศึ
กษามอแกนเกาะ1 เรื่
อง กลุ่มอูรั
กลาโว้ย 6 เรื่
อง ชาวเลทุ
กกลุ่ม 1 เรื่
อง เป็น
กรณี
ศึ
กษาในจั
งหวั
ดสตูล 2 เรื่
อง พั
งงา 1 เรื่
อง ภูเก็
ต 1 เรื่
องกระบี่
2 เรื่
อง และ
ศึ
กษาชาวเลในภาพรวมหลายจั
งหวั
ด 2 เรื่
อง