158
สืบโยดสาวย่าน
ธรรมชาติ
อย่
างสอดคล้
องและกลมกลื
น สามารถรั
กษาดุ
ลยภาพระหว่
างมนุ
ษย์
และ
สิ่งแวดล้
อมไว้ได้
บางเรื่องต้องการศึกษาความรู้พื้นบ้านของมอแกน บางเรื่องใช้
แนวคิ
ดเกี่
ยวกั
บปัจจั
ยในการยอมรั
บสิ่
งใหม่เพื่
อศึ
กษาสภาพสั
งคม เศรษฐกิ
จ และ
ปั
จจั
ยที่
มี
อิ
ทธิ
พลต่
อการยอมรั
บสิ่
งใหม่
ของชาวเล บางเรื่
องอาศั
ยแนวคิ
ดด้
านการจั
ด
สวั
สดิ
การเพื่
อด�
ำเนิ
นการช่
วยเหลื
อชาวเลในเรื่
องจั
ดหาที่
ดิ
นอยู่
อาศั
ย ประกอบอาชี
พ
ส่งเสริมสวัสดิการการศึกษาและการพัฒนาตนเองตามสังคมสมัยใหม่และท้องถิ่น
โดยเฉพาะบางเรื่
องศึ
กษาถึ
งพลวั
ตของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
มอแกลน สั
งคมวั
ฒนธรรม
เศรษฐกิ
จของเกาะพระทอง เพื่
อแสวงหาแนวทางในการฟื้นฟูและการพั
ฒนา ตาม
โครงการฟื้นคื
นสภาพให้เกาะพระทอง หลั
งประสบภั
ยพิ
บั
ติ
สึ
นามิ
มี
ผลงานเพี
ยงเรื่
องเดี
ยวที่
กล่
าวถึ
งทั้
งกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ชาวเลและซาไกโดยมี
วัตถุประสงค์
ที่จะศึ
กษา วิ
ถี
ชี
วิ
ตและกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ์
ทั้
งสอง ในฐานะที่
เป็
นกลุ
่
มชน
ดั้
งเดิ
มทางภาคใต้ฝั่งตะวั
นตก
การแบ่งกลุ่มชาวเลจากผลการศึกษาจะแตกต่างกันไป เช่น แบ่งตามที่อยู่
อาศั
ยและวิ
ถี
ชี
วิ
ต ของชาวเล ได้
เป็
น 3 พวก คื
อพวกมะละกา พวกลิ
งคา และพวกมาซิ
ง
หรื
อพวกสิ
งห์
(ประพนธ์
เรื
องณรงค์
: 2517) แบ่
งตามหลั
กภาษาศาสตร์
เป็
น กลุ
่
มมอแกน
มอแกลน และอูรั
กลาโว้ย (อมร ทวี
ศั
กดิ์
: 2526) และหากแบ่งตามแนวคติ
ชนวิ
ทยา
และตามทั
ศนะของชาวเลในอดี
ต แบ่
งได้
เป็
น 2 กลุ
่
มใหญ่
(อาภรณ์
อุ
กฤษณ์
: 2532)
กลุ่มแรกได้แก่ กลุ่มมอเก็
น หรื
อมอแกน แบ่งเป็น 2 กลุ่มย่อย ได้แก่ มอเก็
นปูเลา
(Moken Pulau) หรื
อมอแกนเกาะ และมอเก็
นตามั
บ (Moken Tamab) หรื
อมอแกน
บก กลุ่มที่
2 กลุ่มอูรัก ลาโว้ย (Urak Lawoi) หมายถึ
ง คนของทะเล หรื
อคนทะเล
ในที่
นี้
ขอใช้
ชื่
อมอแกนเกาะ (มอเก็
นปูเลา) หรื
อมอแกน และมอแกนบก
(มอเก็
นตามั
บ) หรื
อ มอแกลน ควบคู่กั
นไป ตามข้อตกลงเบื้
องต้น เพื่
อคงชื่
อเดิ
มที่
ผู้อาวุ
โสชาวมอแกนเคยให้ข้อมูล
ผลงานกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ชาวเล จากบทความ สารคดี
หนั
งสื
อ งานวิ
จั
ย และ
วิ
ทยานิ
พนธ์ รวมทั้
งสิ้
น 54 เรื่
อง แยกตามประเด็
นแหล่งที่
ศึ
กษา สามารถจั
ดล�
ำดั
บ