Previous Page  155 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 155 / 326 Next Page
Page Background

154

สืบโยดสาวย่าน

อรุ

โณทั

ย (หิ

ญชี

ระนั

นท์) : 2546) The Analysis of Moken Opportunistic Foragers’

Intragroup and Intergroup Relations. (Narumon Hinshiranan : 1996) และเรื่

อง The

Moken Boat Symbolic Technology (Jacques Ivanoff :1999)

นอกจากการน�

ำเสนอเรื่

องราวของกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ชาวเลในลั

กษณะบทความ

สารคดี

และหนั

งสื

อเพื่

อเล่

าปรากฏการณ์

และสอดแทรกความคิ

ดเห็

นของผู้

เขี

ยน

แล้ว วิธีวิทยาจากข้อมูลงานวิจัยและวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับชาวเลจ�

ำนวน 27 เรื่อง

ใช้ระเบี

ยบวิ

ธี

การวิ

จั

ยเชิ

งคุ

ณภาพ

11 เรื่

อง เป็นงานวิ

จั

ยเชิ

งปริ

มาณ 11 เรื่

อง เป็น

ทั้

งงานวิ

จั

ยเชิ

งคุ

ณภาพและปริ

มาณ 2 เรื่

อง นอกจากนั้

นเป็

นงานวิ

จั

ยเชิ

งปฏิ

บั

ติ

การ

2 เรื่

อง และวิ

จั

ยค�

ำ 1 เรื่

อง

แนวคิ

ด ทฤษฎี

และวั

ตถุ

ประสงค์

ของงานเขี

ยนกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ชาวเลแตกต่

าง

กั

น เช่

นเดี

ยวกั

บผลงานชาติ

พั

นธุ์

ซาไก ผลงานส่

วนหนึ่

งมี

วั

ตถุ

ประสงค์

ที่

จะน�

ำเสนอ

ปรากฏการณ์

ที่

เกิ

ดขึ้

นในวิ

ถี

ชี

วิ

ตชาวเลตามสภาพที่

พบเห็

น ต้

องการน�

ำข้

อมูลมา

เขี

ยนพรรณนาและวิ

เคราะห์

เพื่

อสื

บเสาะชี

วิ

ตความเป็

นอยู่

ของชนเผ่

าเร่

ร่

อนในทะเล

ต้

องการอธิ

บายค�

ำชาวเลในหนั

งสื

อสารานุ

กรม หรื

อต้

องการวิ

จั

ยค�

ำ“ชาวเล”โดยใช้

เทคนิ

คด้านมานุษยวิทยาชาติพันธุ์ศึกษาแหล่งที่อยู่อาศัย จ�

ำนวนประชากร และ

วิ

ถี

ชี

วิ

ตของชาวเลฝั

งทะเลอั

นดามั

นในประเทศไทยทุ

กกลุ

ม และวิ

เคราะห์

ถึ

งฐาน

เศรษฐกิ

จและทุ

นวั

ฒนธรรม ขณะที่

ผลงานบางส่วนขึ้

นอยู่กั

บสาขาวิ

ชาที่

ผู้น�

ำเสนอ

มี

ความเชี่

ยวชาญ หรือมี

ความสนใจ เช่น

กประวั

ติ

ศาสตร์

มุ

งศึ

กษาในแง่

มุ

มของประวั

ติ

ความเป็

นมาของกลุ

ชาติ

พั

นธุ

ชาวเลในประเทศไทยและหมู่

เกาะใกล้

เคี

ยงในประเทศพม่

า การอพยพ

โยกย้ายและการตั้

งถิ่

นฐานของชาวเล

ผลงานของนั

กมานุ

ษยวิ

ทยาวั

ฒนธรรมและนั

กสั

งคมวิ

ทยาบางเรื่

องศึ

กษา

สั

งคมและวั

ฒนธรรมของชาวเลผ่

านพิ

ธี

ลอยเรื

อ โดยใช้

ทฤษฎี

โครงสร้

างหน้

าที่

ทฤษฎี

โครงสร้

างแบบคู่

ตรงกั

นข้

าม ฯลฯ บางเรื่

องใช้

แนวคิ

ดทฤษฎี

เกี่

ยวกั

บการ

เปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรม เช่

น ทฤษฎีวิวัฒนาการ ทฤษฎีโครงสร้าง