Previous Page  128 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 128 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

127

กั

นท�

ำให้เห็

นถึ

งการเปลี่

ยนแปลง แต่ข้อมูลพื้

นฐานที่

ได้ไม่แตกต่างกั

นมากนั

ก ส่วน

ผลงานชื่

อ “ซาไก” เป็นการวิ

จั

ยค�

ำ ข้อมูลส่วนใหญ่ได้จากการศึ

กษาภาคสนามใน

เขต อ�

ำเภอธารโต จังหวัดยะลา แต่

มี

ข้

อมูลจ�

ำนวนประชากรซาไกกลุ

มต่

างๆ ใน

ประเทศไทย (ไพบูลย์ ดวงจั

นทร์ : 2546)

นอกจากการน�

ำเสนอผลงานในลั

กษณะของบทความ สารคดี

และหนั

งสื

สารคดี

กึ่

งวิ

ชาการแล้

ว วิ

ธี

วิ

ทยาจากข้

อมูล งานวิ

จั

ยและวิ

ทยานิ

พนธ์

จ�

ำนวน

9 เรื่

อง แยกประเภทเป็

นผลงานวิ

จั

ยที่

ใช้

ระเบี

ยบวิ

ธี

วิ

จั

ยเชิ

งคุ

ณภาพ 6 เรื่

อง เป็

นการ

ศึ

กษาด้านภาษาศาสตร์ 1 เรื่

อง อี

ก 1 เรื่

อง เป็นงานวิ

จั

ยเชิ

งปริ

มาณและอี

ก 1 เรื่

อง

เป็นงานวิ

จั

ยวรรณกรรม

ด้

านแนวคิ

ด ทฤษฎี

และวั

ตถุ

ประสงค์

ขึ้

นอยู่

กั

บสาขาวิ

ชาที่

ผู้

น�

ำเสนอ

มี

ความเชี่

ยวชาญ หรื

อสนใจ เช่

น นักโบราณคดี

ต้

องการส�

ำรวจหาวั

ฒนธรรม

ร่

วมยุ

คโหบิ

นเนี

ยน ด้

วยการขุ

ดค้

น ทางโบราณคดี

และศึ

กษาวิ

เคราะห์

โดย

ผู้เชี่ยวชาญสาขาต่างๆ นั

กมานุษยวิทยา นั

กสังคมวิทยา นั

กวิชาการที่สนใจทาง

ด้านวัฒนธรรม และด้านนิเวศวิทยา ต้องการจะแนะน�ำให้รู้จักเพื่อนมนุษย์อีกเผ่า

หนึ่

ง ที่

อาศัยอยู่ในแผ่นดินไทย โดยใช้แนวคิด ทฤษฎีนิเวศวัฒนธรรม ทฤษฎีการ

เปลี่

ยนแปลง ฯลฯ เพื่

อน�

ำเสนอข้

อคิ

ดเกี่

ยวกั

บการปรั

บตั

วของซาไกช่

วงที่

มี

การ

เปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตดั้งเดิมที่เคยเร่ร่อนในป่ามาตั้งบ้านเรือนถาวร และเรียกร้องให้

มี

ผู้

เข้

าไปพั

ฒนาคุ

ณภาพชี

วิ

ตของชนเผ่

าซาไก และอนุ

รั

กษ์

วั

ฒนธรรมดั้

งเดิ

มที่

ก�

ำลั

ถูกกลืนจากสังคมภายนอกไว้ บางท่านต้องการสะท้อนช่องว่างระหว่างวิถีคิดของ

ซาไกกับคนเมือง ต้องการศึกษาลักษณะการเปลี่ยนแปลงและผลกระทบจากการ

เปลี่

ยนแปลงด้

าน สั

งคม วั

ฒนธรรม และเศรษฐกิ

จที่

สั

มพั

นธ์

กั

บระบบนิ

เวศ และเหตุ

ปั

จจั

ยที่

ส่

งผลให้

เกิ

ดการเปลี่

ยนแปลงปั

จจั

ยพื้

นฐานในการด�

ำรงชี

วิ

ตของชนเผ่

าซาไก

ทั้

งด้

านแหล่

งที่

อยู่

อาศั

ย ฐานเศรษฐกิ

จ และทุ

นทางวั

ฒนธรรม ซึ่

งส่

งผลต่

อการด�

ำรง

อยู่

ของซาไกทางภาคใต้

ของไทย และบางท่

านต้

องการโต้

แย้

งและน�

ำเสนอองค์

ความ

รู้ใหม่

เกี่ยวกับชื่อเรียกกลุ่

มชาติพันธุ์

กลุ่

มหนึ่

งทางภาคใต้

ของไทยว่า เป็

นเผ่าเซมัง

ไม่

ใช่

เผ่

าซาไกอย่

างที่

เรี

ยกกั

นมา ขณะที่

นั

กภาษาศาสตร์

ต้

องการศึ

กษา “ระบบเสี

ยง