128
สืบโยดสาวย่าน
ภาษาซาไกกลุ่ม แต็นแอ็น” ซึ่งเป็นภาษาถิ่นหนึ่
งของภาษาซาไกในตระกูลภาษา
ออสโตรเอเซี
ยติ
ก (Austroasiatics) ที่
ใช้
พูดกั
นในกลุ
่
มชนพื้
นเมื
องทางภาคใต้
ของ
ประเทศไทย ต้
องการอธิ
บายค�
ำในหนั
งสื
อสารานุ
กรม และต้
องการส่
งเสริ
มโรงเรี
ยน
น�ำร่องด้านภาษาเพื่อการปฏิรูปการศึกษาและการเข้าสู่ระบบประกันคุณภาพการ
ศึ
กษา ส่วนนั
กสาธารณสุ
ขศาสตร์ต้องการศึ
กษาพฤติ
กรรมสุ
ขภาพของซาไก
มี
ผลงานที่
น�
ำเสนอ การแบ่งกลุ่มซาไกในประเทศไทย เป็น 4 กลุ่ม ตามชื่
อ
ภาษาที่
ใช้ ได้แก่ กลุ่มแต็
นแอ๊น อาศั
ยในเขตจั
งหวั
ดสตูล ตรั
ง พั
ทลุ
ง และสงขลา
กลุ่มกันซิว อาศัยในเขตต�
ำบลบ้านแหร อ�ำเภอธารโต จังหวัดยะลา กลุ่มแตะเด๊ะ
ปัจจุ
บั
นมีครอบครั
วหนึ่
งมารวมกั
บกลุ่มกั
นซิ
ว ต�
ำบลบ้านแหร กลุ่มยะฮายย์อาศั
ย
ในเขตอ�
ำเภอบั
นนั
งสตา อ�
ำเภอธารโต อ�
ำเภอเบตง จั
งหวั
ดยะลา อ�
ำเภอ สุ
คิ
ริ
น
(ไพบูลย์ ดวงจั
นทร์ : 2523) ซึ่
งข้อเสนอดั
งกล่าวมี
ข้อโต้แย้งของ Bauer (1991) ว่า
กลุ่มที่
อาศัยอยู่ในจั
งหวั
ดตรั
ง พั
ทลุ
ง สตูล และกลุ่มที่
อาศั
ยในต�
ำบลธารโต จั
งหวั
ด
ยะลา เป็
นกลุ่
มภาษาเดี
ยวกั
น คื
อ ภาษากั
นซิ
วโดยให้
เหตุ
ผลว่
าภาษาของทั้
ง 2 กลุ่
ม
มี
รากศั
พท์เดี
ยวกั
น หรื
อเป็นค�
ำเดียวกั
น ที่
แตกต่างกั
นเพราะการรั
บวั
ฒนธรรมทาง
ภาษาจากท้
องถิ่
นใกล้
เคี
ยงบ้
าง หรื
อผิ
ดเพี้
ยนไปเพราะเป็
นภาษาที่
ใช้
ต่
างถิ่
นต่
าง
พื้
นที่
บ้าง (อาภรณ์ อุ
กฤษณ์ : 2536)
ผลงานกลุ่มชาติพันธุ์ซาไก จากบทความ สารคดี หนั
งสือ งานวิจัย และ
วิ
ทยานิ
พนธ์
ทั้
ง 19 เรื่
อง เป็นแหล่งศึ
กษาจั
งหวั
ดตรั
ง 13 เรื่
อง จั
งหวั
ดยะลา 4 เรื่
อง
และศึ
กษาซาไกในภาพรวมทุ
กจั
งหวั
ด 3 เรื่
อง จั
งหวั
ดพั
ทลุ
ง 1 เรื่
อง การตั
ดสิ
นใจ
เลื
อกแหล่
งศึ
กษาส่
วนหนึ่
งน่
าจะมี
ส่
วนสั
มพั
นธ์
กั
บการเดิ
นทางเข้
าถึ
งแหล่
งเช่
น กลุ
่
มที่
อ�
ำเภอปะเหลี
ยนจะเข้
าไปได้
ไม่
ยากนั
กและมี
ความปลอดภั
ยสูงกว่
ายะลา ผลงานดั
ง
กล่าว น�
ำมาสั
งเคราะห์ตามประเด็
นเนื้
อหาในการศึ
กษา เป็นกลุ่มสั
งคม วั
ฒนธรรม
ประวั
ติ
ศาสตร์ และกลุ่มอั
ตลั
กษณ์ทางชาติ
พั
นธุ์