Previous Page  106 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 106 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

105

ข้อเด่น ข้อด้อยของการวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

ด้านพลังความคิดและภูมิปัญญา

พลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญามิ

ได้

เป็

นเพี

ยงภาพสะท้

อนสาระความรู้

ที่

ปรากฏอยู่ในงานเท่านั้

น แต่มี

ความหมายเชิ

งพั

ฒนาสั

งคมผู้เป็นเจ้าของ เนื่

องจาก

กระบวนการช่

วยให้

เห็

นการเคลื่

อนเปลี่

ยนที่

เกี่

ยวข้

องอยู่

กั

บการเรี

ยนรู้

และ

ปรั

บเปลี่

ยนมาอย่

างต่

อเนื่

องในสั

งคมนั้นๆ พลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญาจึ

งเป็

ทั้งองค์

ความรู้

และกระบวนการควบคู่

กันไป สะท้

อนถึ

งคุ

ณค่

าอันลึกซึ้งที่

สั

งคมใช้

เป็

นระบบคิ

ดและแนวทางให้

สั

งคมอยู่

รอด จากการศึ

กษาวิ

เคราะห์

และประเมิ

สถานภาพองค์ความรู้การวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้ด้านพลังความคิดและภูมิปัญญา

ช่วยให้เห็

นข้อเด่น ข้อด้อยของงานในหลายประการ ดั

งนี้

แม้ผลงานได้สะท้อนองค์ความรู้หลายชุด แต่การน�

ำเสนอจ�ำกัดอยู่ภายใต้

การอธิ

บายปรากฏการณ์ ให้คุ

ณค่าความดี

งามในอดี

ตเป็นแนวทาง โดยมองไปใน

ทิศทางใดทิศทางหนึ่

งเท่านั้

น ซึ่งส่

วนใหญ่

เน้

นว่

ามีอะไร เป็

นเช่

นไร มักขาดโจทย์

หรื

อค�

ำถามที่

ช่วยให้แลเห็

น “คน” แลเห็

น “ระบบ” แลเห็

น “บทบาท” และแลเห็

“พลั

ง” ไม่มุ่งไปสู่การค้นพบองค์ความรู้ใหม่ และทฤษฎี

ใหม่ที่

ใช้เป็นเครื่

องมื

อเป็น

ตั

วชี้

วั

ดคุ

ณภาพของผลงาน

ผลงานมั

กมี

การวิ

เคราะห์

ภายใต้

กรอบคิ

ดที่

จ�

ำกั

ด ขาดความสั

มพั

นธ์

กั

บการ

เปลี่

ยนแปลงของวั

ฒนธรรม ขาดมิ

ติ

การมองที่

ปะทะประสานทางวั

ฒนธรรม เป็

นงาน

ที่

ให้

ความส�

ำคั

ญกั

บโครงสร้

าง ขาดการเชื่

อมร้

อยกั

บชุ

มชนผู้

กระท�ำการอย่

างแท้

จริ

การน�

ำปั

ญหามาศึ

กษายั

งคงจ�

ำกั

ดอยู่

กั

บการมองในวงแคบแบบเดิ

มๆ แม้

จะ

สะท้

อนมิ

ติ

วั

ฒนธรรมที่

หลากหลายก็

จริ

ง แต่

องค์

ความรู้

ที่

ได้

ยั

งขาดความชั

ดเจน เช่

การศึ

กษาชนกลุ่

มน้

อย ภาษาเฉพาะถิ่

น วั

ฒนธรรมเฉพาะบางสาขา ฯลฯ ยกเว้

นผล

งานศึ

กษาเกี่

ยวกั

บวรรณกรรมท้องถิ่

นที่

ศึ

กษา วิ

เคราะห์ ตี

ความ จนได้องค์ความรู้

ชุ

ดหนึ่

งที่

ลึ

กซึ้

งข้ามพ้นภาวะที่

เป็นนั

กรวบรวมข้อมูลอย่างเห็

นได้ชั