Previous Page  97 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 97 / 272 Next Page
Page Background

96

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

“แม้

ว” เป็

น “ม้

ง” จาก “อี

ก้

อ” เป็

น “อ่

าข่

า” และจาก “มูเซอ” เป็

น “ลาหู่

” เป็

นต้

เรื่

องที่

สอง การรณรงค์

ให้

สื่

ออธิ

บายวิ

ถี

ชี

วิ

ตและวั

ฒนธรรมในลั

กษณะที่

ถูกต้

องและ

เป็นด้านบวก การเรี

ยก “ไร่หมุ

นเวี

ยน” แทนที่

“ไร่เลื่

อนลอย” การแก้ความเข้าใจ

ที่

ผิ

ดพลาด เช่

น เรื่

องของ “มิ

ดะ” และ “ลานสาวกอด” ที่

ถูกให้

ความหมายในเรื่

องเพศวิ

ถี

ในทางลบ รูปแบบทางวัฒนธรรมเช่นเครื่องแต่งกาย ที่น�ำไปใช้อย่างไม่ถูกต้องใน

ภาพยนตร์และสื่

ออื่

นๆ เป็นต้น

ในการรวบรวมงานศึ

กษาวิ

จั

ยที่

เกี่

ยวกั

บชาติ

พั

นธุ

สั

มพั

นธ์

ทางภาคเหนื

ของประเทศไทย ในระยะกว่

าทศวรรษที่

ผ่

านมา แม้

ว่

าแนวทางการศึ

กษาแบบ

หลั

งสมั

ยใหม่จะเป็นที่

นิ

ยมมากขึ้

น แต่ผู้เขี

ยนก็

พบว่ายั

งมี

การใช้แนวทางการศึ

กษา

แบบอื่

น ด้

วยเหตุ

นี้

การใช้

ค�

ำที่

เหมื

อนกั

นในแต่

ละงาน อาจจะมี

ความหมาย

ไม่

เหมือนกัน เช่น การศึกษา “อัตลักษณ์

ชาติพันธุ์” ที่ยังคงนิยมศึกษามาจนถึง

ปั

จจุ

บั

น อาจจะมี

ความหมายเดี

ยวกั

บวั

ฒนธรรมเฉพาะของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

หรื

ออาจจะ

หมายถึ

งกระบวนการสร้

างวาทกรรมที่

เกี่

ยวกั

บความเป็

นกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

หรื

ออาจจะ

เป็

นเรื่

องของการแสดงออกเชิ

งสั

ญลั

กษณ์

ในพิ

ธี

กรรม ต�

ำนาน การปฏิ

บั

ติ

ทางวัฒนธรรม หรือในชีวิตประจ�

ำวัน ตามแต่แนวทางที่ผู้ศึกษาจะน�

ำมาใช้ ทั้งนี้

งานศึ

กษาที่

รวบรวมส�

ำหรั

บการสั

งเคราะห์

และประเมิ

นครั้

งนี้

มี

ทั้

งงานที่

ศึ

กษา

กลุ่มชาติ

พั

นธุ์เฉพาะกลุ่มใดกลุ่มหนึ่

งในกลุ่ม “ชาวเขา” ที่

อยู่บนพื้

นที่

สูง หรื

อกลุ่ม

คน “ไท” หรือ “ไต” ที่อพยพมาอยู่ในประเทศไทยนานแล้ว หรือแรงงานย้ายถิ่น

จากประเทศเพื่

อนบ้

าน ซึ่

งจ�

ำนวนไม่

น้

อยมาจากกลุ

มชาติ

พั

นธุ

เดี

ยวกั

นกั

บที่

มี

อยู่

ในประเทศไทย งานศึ

กษาเหล่

านี้

อาจจะเกี่

ยวพั

นกั

บเรื่

องใดเรื่

องหนึ่

งหรื

อประเด็

นใด

ประเด็

นหนึ่

ง เช่น การจั

ดการทรั

พยากรธรรมชาติ

เศรษฐกิ

จ การค้า การท่องเที่

ยว

ระบบการเมื

องการปกครอง ประวั

ติ

ศาสตร์ ศาสนา ฯลฯ เป็นงานศึ

กษาขบวนการ

เคลื่

อนไหวของกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ในท่

ามกลางความสั

มพั

นธ์

และความขั

ดแย้

งกั

บรั

ฐและ

กลุ

มอื่

นๆ หรื

อเป็

นงานที่

น�

ำมิ

ติ

ชาติ

พั

นธุ

สั

มพั

นธ์

ไปศึ

กษาเชื่

อมโยงกั

บมิ

ติ

อื่

นเช่

เพศสภาพ ชนชั้

น วรรณะ (caste) สถานภาพ (status) ฯลฯ

อนึ่

ง ในระยะกว่

าทศวรรษที่

ผ่

านมา มี

วิ

ทยานิ

พนธ์

หรื

อการศึ

กษาวิ

จั

จ�

ำนวนมาก ที่

ใช้

กลุ

มชาติ

พั

นธุ

บนพื้

นที่

สูงหรื

อ “ชาวเขา” เป็

นกลุ

มหรื

อพื้

นที่

เป้

าหมาย