งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ
91
บทที่ 3
ความเคลื่อนไหว
และอัตลักษณ์ทางชาติพันธุ์
ขวั
ญชี
วั
น บั
วแดง
3.1 บทน�ำ
บทความนี้เป็นการสังเคราะห์และประเมินองค์ความรู้จากงานศึกษาวิจัยที่
เกี่
ยวพั
นกั
บมิ
ติ
ด้านชาติ
พั
นธุ์สั
มพั
นธ์ (Ethnicity) ที่
มี
ขอบเขตพื้
นที่
การศึ
กษาวิ
จั
ยใน
บริ
เวณภาคเหนื
อของประเทศไทยโดยเฉพาะอย่
างยิ่
งในเขตจั
งหวั
ดเชี
ยงใหม่
ล�
ำพูน
ล�ำปาง แพร่
น่
าน เชียงราย พะเยา แม่
ฮ่
องสอน ตากและประเทศลาว ซึ่งส่วน
ใหญ่
เป็
นพื้
นที่
สูงเขตป่
าเขา และมี
พื้นที่
ติ
ดกั
บชายแดนประเทศพม่
า พื้
นที่เหล่
านี้
เป็
นที่
อยู่
อาศั
ยของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ที่
หลากหลายทั้
งที่
อาศั
ยอยู่
ในพื้
นที่
สูงและที่
ราบ
ทั้
งที่
อยู่
อาศั
ยในพื้
นที่
มาเป็
นเวลานาน และย้
ายเข้
ามาในเขตประเทศไทยในช่
วงเวลา
ที่
แตกต่
างกั
น เพื่
อแสวงหาพื้
นที่
ท�ำกิ
นและอพยพหนี
ภั
ยสงครามและภั
ยการคุ
กคาม
กดขี่
ในรูปแบบอื่นๆ การสั
งเคราะห์
และประเมินจากงานศึ
กษาวิ
จั
ยได้
รวบรวมขึ้
น
ภายใต้
โครงการประเมิ
นและสั
งเคราะห์
สถานภาพองค์
ความรู้
การวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมใน
ประเทศไทย ซึ่
งได้
รั
บทุ
นจากส�
ำนั
กงานคณะกรรมการวั
ฒนธรรมแห่
งชาติ
1
ให้
ด�
ำเนิ
นการ
1
เปลี่ยนเป็นกรมส่งเสริมวัฒนธรรม ตั้งแต่ปี 2553