Previous Page  93 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 93 / 272 Next Page
Page Background

92

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

ในช่

วงปี

2547-2549 โดยมี

การรวบรวมงานศึ

กษาวิ

จั

ยในรูปแบบของหนั

งสื

วิทยานิพนธ์

บทความทั้งที่น�

ำเสนอในที่ประชุมสัมมนาและตีพิมพ์

ในวารสารและ

หนั

งสื

อรวมบทความ รวมทั้

งรายงานการวิ

จั

ยทั้

งภาษาไทยและภาษาอั

งกฤษ ย้

อนหลั

ไปประมาณ 10 ปี (2539-2549) นอกจากนี้

ผู้เขี

ยนยั

งได้ทบทวนงานศึ

กษาที่

ท�ำหลั

ปี

2549 เพิ่

มเติ

ม โดยส่

วนใหญ่

เป็

นงานวิ

ทยานิ

พนธ์

ของนักศึ

กษาปริ

ญญาโท

สาขาการพั

ฒนาสั

งคม ซึ่

งเป็

นสาขาที่

ด�

ำเนิ

นการโดยภาควิ

ชาสั

งคมวิ

ทยาและ

มานุ

ษยวิ

ทยา คณะสั

งคมศาสตร์

มหาวิ

ทยาลั

ยเชี

ยงใหม่

ที่

ผู้

เขี

ยนสั

งกั

ดอยู่

และเข้

าถึ

ได้

โดยง่

าย รวมถึ

งชุ

ดโครงการวิ

จั

ยที่

ท�

ำเกี่

ยวกั

บเรื่

องชาติ

พั

นธุ

ที่

ด�

ำเนินการโดย

นักวิ

ชาการของมหาวิ

ทยาลั

ยเชี

ยงใหม่

โดยผู้

เขี

ยนได้

เข้

าไปร่

วมอี

กจ�

ำนวนหนึ่ง

อย่

างไรก็

ดี

ผลงานที่

รวบรวม ถื

อเป็

นเพี

ยงส่

วนหนึ่

งของงานศึ

กษาวิ

จั

ยที่

เกี่

ยวกั

ชาติ

พั

นธุ์ทั้

งหมดซึ่

งมี

จ�

ำนวนมากกว่าที่

ได้อ้างถึ

งในบทความนี้

ในบทความนี้

ผู้

เขี

ยนได้

สรุ

ปเนื้

อหาหลั

ก แนวทางและระเบี

ยบวิ

ธี

วิ

จั

ยที่

นั

กศึ

กษาและนั

กวิ

จั

ยใช้

ในช่

วงเวลากว่

าหนึ่

งทศวรรษที่

ผ่

านมา แต่

ก่

อนที่

จะเป็

การสังเคราะห์เนื้อหาและระเบียบวิธีของงานวิจัย บทความเริ่มจากการอธิบายถึง

ความหมายของชาติ

พั

นธุ

สั

มพั

นธ์

ที่

ใช้

เป็

นขอบเขตของการรวบรวมเอกสารงานศึ

กษา

จากนั้

นเป็นเรื่องบริบททางสังคมที่ส�

ำคัญในช่วงกว่าทศวรรษที่ผ่านมา ที่ส่งผลต่อ

การเกิ

ดปั

ญหาหรื

อปรากฏการณ์

ด้

านชาติ

พั

นธุ

ที่

นั

กศึ

กษาและนั

กวิ

จั

ยหยิ

บยกขึ้

นมา

เป็นประเด็นการวิจัย ต่อจากนั้

นจึงเป็นการสังเคราะห์เนื้อหาของการวิจัย แนวคิด

และระเบี

ยบวิ

ธี

วิ

จั

ย และในส่

วนสุ

ดท้

ายเป็

นการประเมิ

นสรุ

ปที่

เน้

นวิ

เคราะห์

ช่

องว่

าง

การวิจั

ยทางชาติ

พั

นธุ์ที่

มี

อยู่

ค�

ำว่

าชาติ

พั

นธุ

สั

มพั

นธ์

หรื

อในภาษาอั

งกฤษที่

ใช้

ค�

ำว่

า ethnicity นั้

มี

การให้

ความหมายที่

แตกต่

างกั

นออกไปตามแนวคิ

ด มุ

มมอง หรื

อความ

เชื่

อทางสั

งคมวิ

ทยาและมานุ

ษยวิ

ทยาที่

แตกต่

างกั

นออกไป ในแนวความคิ

แบบโครงสร้างนิยม ชาติ

พั

นธุ์สั

มพั

นธ์เป็นสิ่

งที่

ถูกสร้างโดยสั

งคม เป็นจิ

ตส�

ำนึ

กร่วม

ที่

เน้

นความเป็

นอั

นหนึ่

งอั

นเดี

ยวกั

นในทางเชื้

อสายที่

สื

บทอดกั

นมา ดั

งเช่

นการอธิ

บาย

ของ สุ

เทพ สุ

นทรเภสั

ช (2548:10) ซึ่

งเป็

นผู้

ที่

แปลค�

ำว่

า ethnicity เป็

น ชาติ

พั

นธุ

สั

มพั

นธ์