Previous Page  95 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 95 / 272 Next Page
Page Background

94

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

หน้

าที่

ที่

ท�

ำให้

เกิ

ดการบูรณาการระหว่

างองค์

ประกอบต่

างๆ ในโครงสร้

างอย่

างไร

เพื่

อให้

เกิ

ดความมั่

นคงและเสริ

มสถานภาพทั้

งในระดั

บปั

จเจกและระดั

บองค์

กร

งานของเอ็

ดมั

น ลี

ช (Leach 1968) ที่

ศึ

กษาระบบการเมื

องในพื้

นที่

สูงของประเทศพม่

ที่

เน้

นโครงสร้

างการเมื

องภายในกลุ

มฉานและกลุ

มคะฉิ่

นนั้

นเป็

นตั

วอย่

างที่

ส�

ำคั

ญของ

แนวทางการศึกษาโครงสร้างหน้าที่นิยม โดยเอ็ดมัน ลีช ชี้ให้เห็นว่าในท่ามกลาง

ความสั

มพั

นธ์

ระหว่

างกลุ

มนั้

น ความเป็

นชาติ

พั

นธ์ุ

ของแต่

ละบุ

คคลอาจจะมี

การ

ปรั

บเปลี่

ยนได้

คนที่

เคยอยู่

ในกลุ

มคะฉิ่

นอาจจะระบุ

ว่

าตั

วเองเป็

นฉานได้

เมื่

อมี

การปรั

บเปลี่

ยนวิ

ถี

ชี

วิ

ตรวมทั้

งรูปแบบการท�

ำการเกษตรจากการท�

ำไร่

บนพื้

นที่

สูง

มาเป็

นการท�

ำนาในลั

กษณะเดี

ยวกั

บคนฉาน รวมทั้

งมี

ความสั

มพั

นธ์

ใกล้

ชิ

ดกั

คนฉาน ดั

งนั้

น การเป็

นคนฉานหรื

อคะฉิ่

นจึ

งไม่

ใช่

สิ่

งที่

ตายตั

วแต่

ปรั

บเปลี่

ยนได้

ในท่ามกลางความสัมพันธ์กับกลุ่มต่างๆ ตามการปรับเปลี่ยนโครงสร้างสังคมเช่น

โครงสร้างการเมื

อง และโครงสร้างเศรษฐกิ

จเป็นต้น

ส�ำหรับกลุ่มมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ให้ความสนใจภาษา พฤติกรรมและ

บุคลิกภาพของผู้คน ในโลกตะวันออกที่ยังอยู่ในยุคก่อนความทันสมัย มีโครงการ

ศึ

กษากลุ่

มคนที่

อาศั

ยอยู่

ในหมู่

เกาะ ทุ่

งหญ้

า ทะเลทราย ป่

าเขา พื้

นที่

สูง ชายทะเล

เป็นจ�ำนวนมากตั้งแต่ยุคอาณานิ

คมมาจนถึงการเกิดรัฐชาติสมัยใหม่ที่ประกาศตัว

มากขึ้นในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เป็นต้นมา การศึกษาลักษณะเฉพาะทาง

วั

ฒนธรรมของกลุ

มคน ซึ่

งในยุ

คนี้

มั

กจะจ�

ำแนกออกเป็

นเชื้

อชาติ

(Race) ชนเผ่

า (Tribe)

และกลุ

มชาติ

พั

นธุ

(ethnic group) และพยายามท�

ำความเข้

าใจว่

าแต่

ละกลุ

มมี

อั

ตลั

กษณ์

(identity) อย่

างไร เพื่

อช่

วยเจ้

าอาณานิ

คมหรื

อรั

ฐบาลในเรื่

องของ

การจ�

ำแนกชาติ

พั

นธุ

(ethnic classification) และการก�

ำหนดนโยบายและแนวทางในการ

“จั

ดการ” แต่

ละกลุ

มคนทางด้

านการเมื

องการปกครอง และเพื่

อการ “พั

ฒนา”

สู่

ความทันสมัยในด้

านต่

างๆ การศึกษาวิจัยของนั

กวิชาการในกลุ่มนี้ ท�

ำให้

มีงาน

ประเภทชาติ

พั

นธุ

วิ

ทยา (ethnology) จ�ำนวนมากที่

ศึ

กษาเชื้

อชาติ

ชนเผ่

า และ

กลุ

มชาติ

พั

นธุ

ซึ่

งส่

วนใหญ่

จะเป็

นชนกลุ

มน้

อยที่

อยู่

บนพื้

นที่

สูง บริ

เวณพรมแดน

ชายขอบของรั

ฐ กลุ

มที่

มี

วิ

ถี

ชี

วิ

ตแบบเคลื่

อนย้

ายเนื่

องจากต้

องพึ่

งพาธรรมชาติ