Previous Page  86 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 86 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

85

จิรศักดิ์ เดชวงศ์ญา (2539) ‘กระหนกล้านนา’ เอกสารประกอบการสัมมนาไทยศึกษาครั้งที่หก

เชียงใหม่

ฉลอง พินิจสุวรรณ (2545)

จ.พรหมมินทร์: ต�ำนานชีวิตจิตรกรพื้นบ้านแห่งล้านนาไทย

เชียงราย:ส�ำนักพิมพ์ครูศิลปะ

ชนิดา ตั้งถาวรสิริกุล (2541) ‘สื่อสัญลักษณ์ผ้าลาวเวียงจันทน์’ ชาญวิทย์ เกษตรศิริ-กาญจนา

ละอองศรี (บก.) ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

ชุติพงศ์ คงสันเทียะ (2556) ‘ซอล่องน่าน: พลวัติการผลิตซ�้ำทางวัฒนธรรมของเพลงพื้นบ้านไทย

ภาคเหนือ’ วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาการพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ไชยันต์ รัชชกูล (2546) ‘บทส�ำรวจงานวิจัยในภาคเหนือ: ข้อคิด ความส�ำคัญและนัยทาง นโยบาย’

เอกสารประกอบการประชุมวิชาการ “พลังสังคมไทยในทศวรรษหน้า: ทางเลือกกับความเป็น

จริง ภาควิชาสังคมวิทยามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ณรงค์ชัย ปิฎกรัชต์, ฤชุ สิงคเสลิตและคณะ (2542)

เค่งและเพลงในพิธีตจอ ผลี่ของชนเผ่าม้ง

วิทยาลัยดุริยางคศิลป์ มหาวิทยาลัยมหิดล

ทรงศักดิ์ ปรางวัฒนากุล (2533)

ผ้าล้านนา ยวน ลื้อ ลาว

โครงการศูนย์ส่งเสริมศิลปวัฒนธรรม

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

ทรงศักดิ์ ปรางค์วัฒนากุล และ หทัยวรรณ ไชยะกุล (2542)

การศึกษาวิเคราะห์วรรณกรรม

ประเภทโคลงค�ำสอนของล้านนา ภาควิชาภาษาไทย

คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัย

เชียงใหม่

ทิพวรรณ มั่งมี (2546)

การจัดองค์ประกอบศิลป์ในจิตรกรรมฝาผนังล้านนา

คณะวิจิตรศิลป์

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

เธียรชาย อักษรดิษฐ์ (2545) “ชุธาตุ : ความเชื่อเรื่องพระธาตุประจ�ำปีเกิดในล้านนา” ใน

ล้านนา:จักรวาล ตัวตน อ�ำนาจ

ส�ำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย

เธียรชาย อักษรดิษฐ์ (2548) “ต�ำนานพระเจ้าเลียบโลก: วรรณกรรมทางศาสนาที่ว่าด้วยภูมิปัญญา

และ ท้องถิ่นศึกษา” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย

ส�ำนักกองทุนสนับสนุนการวิจัย

นุชนาฎ ดีเจริญ (2545) ร�ำมังคละในจังหวัดพิษณุโลก สุโขทัยและอุตรดิตถ์

ความรู้คู่สังคม:

รวมผลงานวิจัยของคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

มหาวิทยาลัยนเรศวร

(หน้า 55-66) กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยนเรศวร

นุสรา เตียงเกตุ (2539) “ผ้าจกพื้นเมืองแม่แจ่ม” ใน จินตนา มัธยมบุรุษ และยุพิน เข็มมุกด์(บก.)

สรรพช่าง: ภูมิปัญญาท้องถิ่นเชียงใหม่

ศูนย์วัฒนธรรมจังหวัดเชียงใหม่ ศูนย์ศิลป

วัฒนธรรมสถาบันราชภัฏเชียงใหม่ องค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงใหม่

บาหยัน อิ่มส�ำราญ (2548) ‘เสือโค : ความรุนแรงและการสืบทอด’ เอกสารประกอบการประชุม

ประจ�ำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 4 เรื่องวัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง 23-25 มีนาคม

2548 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร