86
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
ปฐม หงษ์สุวรรณ (2548) “ลัวะกินคน-วาทกรรมการสร้างภาพลักษณ์ความรุนแรงจากต�ำนานและ
พิธีกรรมของคนต่างชาติพันธุ์” เอกสารประกอบการประชุมประจ�ำปีทางมานุษยวิทยาครั้งที่ 4
“วัฒนธรรมไร้อคติ ชีวิตไร้ความรุนแรง” 23-25 มีนาคม 2548 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ปฐม หงษ์สุวรรณ (2552) “อมราพิศวาส: โลกของผู้หญิงรักพระกับนัยยะของความรุนแรง” เอกสาร
ประกอบการประชุมเวทีวิจัยมนุษยศาสตร์ไทย ครั้งที่ 5 “ข้า ค่า ฆ่า: อัตลักษณ์ คุณค่าและ
ความรุนแรง” คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 25-27 พฤศจิกายน 2552
ปรางทิพย์ ฮอนบุตร (2541)
‘ภูมิปัญญาชาวบ้านจากประเพณีบางอย่างในวรรณคดีเรื่องขุนช้าง
ขุนแผน’ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร
ปราณี เกศสุวรรณ (2540) ‘จริยธรรมทางพระพุทธศาสนาจากหนังสือด้วยปัญญาและความรัก
นิทานเมืองเหนือ รวบรวมโดยเวาน์ เพลงเออ’ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร
ปฏิภาณ อายิ และคณะ (2548) เทศกาลและพิธีกรรมที่เหมาะสมในสภาวะปัจจุบัน กรณีศึกษา:
ชุมชนอ่าข่า บ้านแสนเจริญเก่า ต.วาวี อ.แม่สรวย จ.เชียงราย ชุดโครงการศิลปวัฒนธรรม/
ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ส�ำนักงานกองทุน สนับสนุนการวิจัย ส�ำนักงานภาค
ปราโมทย์ ภักดีณรงค์ (2547) ‘การเมืองของสุนทรียภาพผ้าซิ่นตีนจกกับกระบวนการรื้อฟื้น
วัฒนธรรม แม่แจ่ม’ วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาพัฒนาสังคม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ปราโมทย์ภักดีณรงค์และทรงศักดิ์แก้วมูล (2549) “จากเหตุการณ์สร้างสินค้า “โรงแรม-วัดล้านนา”
ถึง ผลกระทบในบ้านของผม”
เอกสารประกอบการประชุม ประจ�ำปีทางมานุษยวิทยาครั้ง
ที่ 5 “วัฒนธรรมบริโภค บริโภควัฒนธรรม” 29-31 มีนาคม 2549 ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล (2536) ‘ภาษาของจิตรกรรมไทย: การศึกษารหัสของภาพและ
ความหมายทางสังคมวัฒนธรรมของจิตรกรรมพุทธศาสนาต้น รัตนโกสินทร์’ เอกสารการ
วิจัย สถาบันไทยคดีศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
ปริตตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล (บก.) (2545)
คนใน: ประสบการณ์ภาคสนามของ
นักมานุษยวิทยาไทย
กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร
พัชรินทร์ จันทนานุวัฒน์กุล, ดรุณี ณ ล�ำปาง, วินัย ปิ่นมณี, ชัยมงคล ตระกูลดี (2542) ‘ซอ
พื้นเมือง: สื่อพื้นบ้านเพื่อการพัฒนา’ คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เพ็ญสุภา สุขคตะ ใจอินทร์ (2548) ปริวรรตภาษา: ชื่อบ้าน นามเมือง, สืบค้นความหมาย
ถ่ายทอดอักขระ ค�ำว่า “หริภุญไชย” และ “ล�ำพูน
”
พิพิธภัณฑสถานแห่งชาติหริภุญไชย
ส�ำนักพิพิธภัณฑสถานแห่งชาติ กรมศิลปากร
มนู ควั่นค�ำ (2542) ‘โคลงนิราศหริภุญไชย: การศึกษาประวัติศาสตร์เส้นทางคมนาคมจาก
เชียงใหม่ไปล�ำพูน’ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏเชียงใหม่
รณชิต แม้นมาลัย (2536) ‘กลองหลวงล้านนา: ความสัมพันธ์ระหว่างชีวิตและชาติพันธุ์’
วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวัฒนธรรมศึกษา มหาวิทยาลัยมหิดล