36
กำ�กึ๊ดกำ�ปาก
และท�ำให้กระแส “วัฒนธรรมศึกษา” (cultural studies) แพร่หลายอยู่ในปัจจุบัน
ในกรอบคิ
ดนี้
วั
ฒนธรรมถูกนิ
ยามใหม่
ให้
หลุ
ดจากกรอบคิ
ดแนวสารั
ตถะนิ
ยม และหั
น
มาเน้นความเกี่
ยวข้องกั
บความสั
มพั
นธ์เชิ
งอ�
ำนาจที่
ซั
บซ้อนในระบบโลกด้วย
การส�
ำรวจสถานภาพองค์
ความรู้
ในการวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมในประเทศไทยจึ
งเป็
น
สิ่
งจ�
ำเป็
นยิ่
ง แต่
มิ
ได้
จ�
ำเป็
น เพราะว่
าเราต้
องตามลอกเลี
ยนแบบตะวั
นตกในการ
ศึ
กษา ทว่าจ�
ำเป็นเพราะเราต้องส�
ำรวจเพื่
อประเมิ
นดูว่าเราก�
ำลั
งอยู่ที่
ไหน และควร
จะไปทางไหน แนววิจัยแบบใดจึงจะเอื้อให้เราเข้าใจสถานการณ์ทางวัฒนธรรมใน
สังคมของเรา ท�ำให้เรารู้เท่าทันและส�
ำเหนียกถึงโครงครอบทางวัฒนธรรมของเรา
เอง ให้
รู้
ว่
าอี
กด้
านหนึ่
งของวั
ฒนธรรม อั
นมุ
่
งเน้
นความกลมเกลี
ยวเป็
นด้
านที่
เคย
ถูกใช้
เพื่
อเป็
นเครื่
องมื
อของความรุ
นแรงได้
อย่
างไร และเราควรวางท่
าที
อย่
างไร
ในเวที
โลก เมื่
อวั
ฒนธรรมก�
ำลั
งกลายเป็นสิ
นค้าและเป็นประเด็
นยุ
ทธศาสตร์ในเวที
การต่อรองระหว่างประเทศหลายๆ เวที
และหากว่าวั
ฒนธรรมเป็นส่วนส�
ำคั
ญของ
อัตลักษณ์แห่งชาติแล้ว เรายิ่งจ�ำต้องเข้าใจว่าอัตลักษณ์ของตัวเราและชาติเราถูก
ประกอบสร้างขึ้
นมาอย่างไรด้วย
ศิ
ลปะจั
ดเป็
นองค์
ประกอบส�
ำคั
ญหนึ่
งของวั
ฒนธรรม การทบทวนสถานภาพ
องค์ความรู้ในครั้
งนี้
จึ
งมุ่งศึ
กษาศิ
ลปะในแง่ที่
เป็นส่วนหนึ่
งของวั
ฒนธรรม มากกว่า
ที่
จะเน้
นทบทวนงานวิ
จั
ยประเภทที่
มุ
่
งศึ
กษาศิ
ลปะในกรอบของแง่
มุ
มทางศิ
ลปะ
แขนงนั้
นๆ เพี
ยงถ่
ายเดี
ยว เนื่
องจากจุ
ดประสงค์
ประการหนึ่
งของการศึ
กษานี้
ต้
องการ
เข้
าใจการนิ
ยามความหมายของวั
ฒนธรรมที่
ซ่
อนแฝงอยู่
เบื้
องหลั
งการวิ
จั
ยต่
างๆ
ดังนั้
นกลุ่มงานที่เลือกมาศึกษาจึงสะท้อนความสัมพันธ์ระหว่างศิลปะกับสังคมใน
แง่มุ
มใดแง่มุ
มหนึ่
งด้วย
ในการส�
ำรวจสถานภาพองค์
ความรู้
ครั้
งนี้
ผู้
วิ
จั
ยเลื
อกส�
ำรวจงานวิ
จั
ย
ย้
อนหลั
งกลั
บไปในช่
วงระหว่
างปี
2541–2556 เป็
นหลั
ก โดยส�
ำรวจจากงาน
วิ
จั
ย วิ
ทยานิ
พนธ์
บทความ หนั
งสื
อจากมหาวิ
ทยาลั
ยต่
างๆ และจากงานวิ
จั
ยที่
สนั
บสนุ
นโดยองค์
กรและแหล่
งทุ
นทั้
งภาครั
ฐและเอกชน รวมทั้
งงานที่
น�
ำเสนอใน
เวทีการประชุมในระดับประเทศและนานาชาติ ตลอดจนงานวิชาการที่เผยแพร่ใน