Previous Page  39 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 39 / 272 Next Page
Page Background

38

กำ�กึ๊ดกำ�ปาก

(mode of analysis) อย่างไร ใช้หน่วยของการวิ

เคราะห์ (unit of analysis) อะไร หรื

ใช้

ทฤษฎี

อะไร ในประเด็

นทฤษฎี

นี้

จะมองเห็

นกระบวนการเชื่

อมโยงความคิ

ดได้

จากวิ

ธี

การที่

งานวิ

จั

ยน�

ำทฤษฎี

มาปรั

บใช้

กั

บข้

อมูล จะเลื

อกน�

ำส่

วนใดของทฤษฎี

หนึ่งๆ มาใช้

จะท�

ำให้

ข้

อมูลสนทนากั

บมโนทั

ศน์

ตามทฤษฎี

อย่

างไร เนื่

องจาก

มโนทัศน์และทฤษฎีนั้

นสามารถมีระดับความเป็นนามธรรมได้หลายระดับ เมื่อจะ

น�ำไปใช้

กับข้อมูล จึงต้องรู้จักการลดระดับหรือเพิ่มระดับความเป็

นนามธรรมของ

มโนทั

ศน์

ที่

เลื

อกใช้

อย่

างไรก็

ตาม ในส่

วนนี้

พบว่

า งานวิ

จั

ยส่

วนใหญ่

มิ

ได้

ให้

ความส�ำคัญกับการใช้ทฤษฎีมากนั

ก แต่ก็มีอยู่จ�

ำนวนหนึ่

งที่ระบุชัดเจนและมุ่งใช้

งานวิ

จั

ยในกรอบทฤษฎี

บางอย่

างหรื

อเพื่

อตรวจสอบทฤษฎี

นั้

น หรื

อแม้

กระทั่

งจะ

พยายามใช้แนวทฤษฎี

ที่

ดูจะขั

ดแย้งกั

นมาศึ

กษาร่วมกั

นในเรื่

องหนึ่

งๆ แต่เนื่

องจาก

งานวิ

จั

ยส่

วนใหญ่

มิ

ได้

ให้

ความส�ำคั

ญกั

บประเด็

นทฤษฎี

ผู้

วิ

จั

ยจึ

งไม่

สามารถจั

ดแบ่

ประเภทของงานวิ

จั

ยตามแนวทฤษฎี

ต่

างๆได้

จึ

งจะขอกล่

าวรวมทั้

งสามประเด็

น คื

วิ

ธี

วิ

ทยา ระเบี

ยบวิ

ธี

วิ

จั

ยและทฤษฎี

ไว้ด้วยกั

2.2 การมองศิลปวัฒนธรรมในตัวเอง

วิ

ธี

วิ

ทยาในงานวิ

จั

ยที่

ศึ

กษาสามารถแยกแยะออกได้

เป็

น 2 กลุ

มใหญ่

ด้

วยกั

กลุ

มแรกเน้

นการเก็

บข้

อมูลเชิ

งประจั

กษ์

เกี่

ยวกั

บลั

กษณะของศิ

ลปะในแขนงหนึ่

งๆ

กลุ่มที่

สอง เน้นการสนทนาระหว่างข้อมูลและทฤษฎี

ส�

ำหรั

บการวิ

จั

ยของกลุ่มแรก

นั้

น การเก็

บข้

อมูลเชิ

งประจั

กษ์

นั

บเป็

นวิ

ธี

การวิ

จั

ยพื้

นฐานของการเก็

บรวบรวมข้

อมูล

เกี่ยวกับศิลปะในแต่ละแขนง แม้จนปัจจุบัน ก็ยังคงพบการเก็บรวบรวมข้อมูลใน

ลั

กษณะนี้

อยู่

มาก เช่

น การเก็

บรายละเอี

ยดเกี่

ยวกั

บบ้

านหรื

อสถาปั

ตยกรรม แจกแจง

รายละเอี

ยดเกี่

ยวกั

บประเพณี

การปลูกเรื

อน (อนุ

วิ

ทย์

, 2539, กรกนก, 2545) ชนิ

ดและ

ลั

กษณะลายผ้าและการทอผ้า (ทรงศั

กดิ์

, 2533, นุ

สรา, 2539) ลั

กษณะของดนตรี

พื้

นบ้าน (ณรงค์ชั

ยและคณะ, 2542, รณชิ

ต, 2536) รูปแบบของการละเล่นพื้

นบ้าน

(นุ

ชนาฏ, 2545, รุ่

งนภา, 2545) ลั

กษณะของสุ

ภาษิ

ตและโคลงล้

านนา (ทรงศั

กดิ์

และ