Previous Page  28 / 272 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 28 / 272 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคเหนือ

27

การศึ

กษาพิ

ธี

กรรมในการเข้

าทรงผี

เจ้

านายในสั

งคมเมื

องเชี

ยงใหม่

ได้

ชี้

ให้

เห็

นถึ

งการดิ้

นรนต่

อสู้

ของกลุ

มคนในสั

งคมเมื

องบางส่

วน ซึ่

งพยายามตอบโต้

กั

ทิ

ศทางของการพั

ฒนาความเป็นเมื

องในปัจจุ

บั

น ที่

มั

กจะอยู่นอกเหนื

อการควบคุ

ของพวกเขามากขึ้

นทุ

กที

ขณะที่

เปลี่

ยนแปลงให้

พวกเขาเป็

นปั

จเจกชนมากขึ้

จนไม่

เห็

นความส�

ำคั

ญของพื้

นที่

ส่

วนรวม พวกเขาจึ

งหั

นมาช่

วงชิ

งพื้

นที่

ทางวั

ฒนธรรม

ของพิ

ธี

กรรมในการเข้

าทรง ที่

อาจจะยั

งอยู่

ในความควบคุ

มของพวกเขาอยู่

บ้

าง เพื่

ช่วยให้พวกเขาสามารถบริ

โภคความหมายของการย้อนยุคได้อย่างไร้ขีดจ�

ำกัดและ

เลื

อกใช้ชี

วิ

ตอยู่ในสั

งคมเมื

องอย่างแตกต่างหลากหลาย แทนการปล่อยให้ชี

วิ

ตของ

พวกเขาต้องถูกฉุ

ดกระชากลากถูให้พั

ฒนาไปในทิ

ศทางเดี

ยวเท่านั้

ส�ำหรับพื้นที่วัฒนธรรมมิติสุดท้ายนั้

น ผู้เขียนบทความได้วิเคราะห์เพิ่มเติม

ว่

าเป็

นพื้

นที่

การเมื

องของอั

ตลั

กษณ์

ของกลุ

มคนที่

หลากหลาย ซึ่

งพยายามเข้

ามา

ช่

วงชิ

งพื้

นที่

ของสั

งคมสมั

ยใหม่

โดยเฉพาะกลุ่

มคนที่

ต้

องเผชิ

ญกั

บปั

ญหาผลกระทบ

ด้

านลบของสั

งคมสมั

ยใหม่

เอง ไม่

ว่

าจะเป็

นปั

ญหาสุ

ขภาพ ปั

ญหาแรงงาน และ

ปัญหาสภาวะข้ามแดน พวกเขาจะสร้างอั

ตลั

กษณ์ด้วยการช่วงชิ

งความหมายของ

การพั

ฒนาในสั

งคมสมั

ยใหม่

ซึ่

งเกี่

ยวข้

องกั

บการสร้

างความหลากหลายของความรู้

ในฐานะที่

เป็

นทุ

นทางวั

ฒนธรรม และการเสริ

มสร้

างพลั

งของความเชื่

อ ศาสนา

ความเป็

นชุ

มชน ท้

องถิ่

น และชาติ

ในฐานะที่

เป็

นสิ

ทธิ

ทางวั

ฒนธรรมและสิ

ทธิ

ชุ

มชน

ซึ่

งกลายเป็

นพื้

นฐานของการเคลื่

อนไหวต่

อสู้

เพื่

ออั

ตลั

กษณ์

ของกลุ

มชนที่

มี

ความ

หลากหลายในสั

งคมมากขึ้

แม้

บทความนี้

จะเน้

นศึ

กษาเฉพาะประเด็

นวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนาก็

ตาม แต่

ได้พยายามเชื่

อมโยงและร้อยเรี

ยง ทั้

งแนวความคิ

ดและประเด็

นต่างๆ ที่

เป็นหั

วข้อ

ศึกษาในบทความอื่นๆ ด้วย รวมทั้งหัวข้อศึกษาของบทความสุดท้ายของหนั

งสือ

เล่มนี้

ของ กาญจนา เงารั

งสี

ชูพิ

นิ

จ เกษมณี

และหทั

ยชนก อิ

นทรก�

ำแหง ซึ่

งศึ

กษา

เฉพาะพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญา เพราะถื

อเป็

นพื้

นที่

วั

ฒนธรรมที่

ส�

ำคั

ญพื้

นที่

หนึ่

ในการสร้

างอั

ตลั

กษณ์

ชาติ

พั

นธุ์

และการช่

วงชิ

งทิ

ศทางการพั

ฒนาของกลุ่

มคนต่

างๆ

ส่

วนบทความสุ

ดท้

ายได้

แยกแยะพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญาออกเป็

นด้

าน

ต่างๆ เริ่

มจากพลั

งความเชื่

อทางศาสนาในการสร้างอั

ตลั

กษณ์ของท้องถิ่

น ซึ่

งงาน