Previous Page  74 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 74 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

73

วั

ฒนธรรมของกลุ

มชนของตนอย่

างดี

เช่

น ผลงานวิ

จั

ยที่

เกี่

ยวข้

อง อั

ตลั

กษณ์

ของ

ความเป็นชาติ

พั

นธุ์ของชายไทยเขมรในด้านภาษา (ประกอบ พวงแข, 2538) ความ

เคร่

งครั

ดทางด้

านศาสนาของชายไทยโย้

ย (สมศั

กดิ์

ศรี

สั

นติ

สุ

ข, 2540 – 2541) ความ

สามารถในอาชี

พประมงของชายไทยโส้

(สุ

รั

ตน์

วรางครั

ตน์

, 2538) และความ

สามารถในการค้าขายของคนจี

นในเขตเทศบาลมหาสารคาม เป็นต้น

3. การนิยามความหมายของวัฒนธรรมมีหลายแนวความคิด นั

กวิชาการ

หลายท่

านได้

กล่

าวถึ

งวั

ฒนธรรมในมิ

ติ

ของการเปลี่

ยนแปลงเป็

นพลวั

ต จึ

งท�

ำให้

วั

ฒนธรรมมี

พลั

งโดยเฉพาะระบบความเชื่

อทางวั

ฒนธรรมของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ที่

ยั

ฝั

งแนบแน่

นกั

บวิ

ถี

ชี

วิ

ตวั

ฒนธรรม ซึ่

งแสดงออกถึ

งอั

ตลั

กษณ์

ทางชาติ

พั

นธุ์

ด้

วย ทั้

งนี้

ผลงานวิ

จั

ยได้

กล่

าวถึ

งโลกทั

ศน์

ของชาวไทยโคราช ผ่

านทางวั

ฒนธรรมดนตรี

พื้

นบ้

าน

ซึ่

งมี

ทั้

งรูปแบบเนื้

อหา สะท้

อนให้

เห็

นระบบความเชื่

อและค่

านิ

ยม (เพชร สุ

วรรณภาชน์

,

2544) เช่นเดียวกับโลกทัศน์ของชาวบรูที่มีต่อทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

รวมทั้

งการรั

กษาสุ

ขภาพแบบดั้

งเดิ

มอี

กด้

วย (จิ

ตรกร โพธิ์

งาม, 2536) ความเชื่

เกี่ยวกับผีบรรพบุรุษของชาวไทยกวย ไทยบรู ไทยเขมร ไทยแสก และเวียดนาม

กลุ

มชาติ

พั

นธุ

ดั

งกล่

าวมี

ความหลากหลายของระบบความเชื่

อ แต่

สิ่

งที่

เป็

นความ

มุ่งหมายปลายทางเดี

ยวกั

น คื

อ ความหลากหลายของระบบความเชื่

อน�

ำไปสู่การ

ด�

ำรงชี

พที่

สงบสุ

ขเช่นเดี

ยวกั

ระบบความเชื่

อของวิ

ถี

ชี

วิ

ตของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ยั

งมี

เรื่

องของความเชื่

อเกี่

ยวกั

งานศพของชาวภูไท กะเลิ

ง และชาวจี

น ซึ่

งยั

งมี

ความเชื่

อเกี่

ยวกั

บผี

บรรพบุ

รุ

ษเป็น

อย่างมาก (สมชาย นิ

ลอาธิ

, 2542)

ผลงานวิจัยส่วนมากได้เน้นในเรื่องโลกทัศน์ ความเชื่อเกี่ยวกับผีบรรพบุรุษ

ความเชื่

อเกี่

ยวกั

บงานศพ และความเชื่

อด้

านหลั

กบ้

าน แสดงให้

เห็

นระบบความ

เชื่อมีความสัมพันธ์กับวิถีชีวิตวัฒนธรรมเป็นอย่างมาก นอกจากนี้ยังแสดงให้เห็น

ว่า แต่ละกลุ่มชาติพันธุ์ในภาคตะวันออกเฉี

ยงเหนือมีความหลากหลายของระบบ

ความเชื่

อด้วย