72
โสวัฒนธรรม
แบบเดิมของกลุ่
มชาติพันธุ์
ตนเอง และที่ส�
ำคัญชาติพันธุ์
ผู้
ไทยนี้ยังสามารถรักษา
อั
ตลั
กษณ์
ทางวั
ฒนธรรมของตนเองไว้
ได้
ถึ
งแม้
จะต้
องปรั
บเปลี่
ยนไปบ้
างในบางอย่
าง
แต่
ส�
ำนึ
กทางชาติ
พั
นธุ
์
จะเป็
นตั
วบ่
งชี้
ถึ
งความเป็
นตั
วตนทางชาติ
พั
นธุ
์
และยึ
ดโยง
ลูกหลานผู้ไทยให้ส�
ำนึ
กในบรรพบุ
รุ
ษของตนเองได้
ชาติพันธุ์ไทยเขมรเป็นกลุ่มหนึ่
งที่ท�ำให้เห็นว่าภาษาเป็นอัตลักษณ์ที่ส�
ำคัญ
ที่
กลุ่มชาติ
พั
นธุ์สามารถธ�
ำรงความเป็นชาติ
พั
นธุ์ได้สูง เช่นงานของพิสิ
ฎฐ์ บุ
ญไชย
(2541) ได้กล่าวถึ
งชาติ
พั
นธุ์เขมร มี
ความเชื่
อประเพณี
อย่างเคร่งครั
ดในการสื
บทอด
ด้
านงานของบรรทมทิ
พย์
มี
ชั
ย (2540) ได้
กล่
าวถึ
งภูมิ
ปั
ญญาของลูกกรู (ผู้
ที่
มี
วิ
ชาอาคม
ในการรักษาโรค) ทั้งที่มีพิธีความเชื่อ ท�ำให้ชาวบ้านได้เห็นความส�ำคัญของพลังที่
มี
ปัญญาด้านวิ
ถี
ชี
วิ
ตวั
ฒนธรรม
การศึกษาภูมิปัญญาของชาวไทยเขมรคือพิธีกรรมเล่นละเลง มีการติดต่อ
ผ่านร่างทรง ซึ่
งได้น�
ำมาเป็นการรั
กษาเกี่
ยวกั
บความสั
มพั
นธ์กั
บชาติ
พั
นธุ์อื่
นๆ ก็
ได้
ตลอดจนงานวิ
จั
ยของ ประนอม เที
ยบทอง (2536) ได้
ศึ
กษาจารี
ตประเพณี
ตาม
อั
ตสั
ยสองถึ
งการเกิ
ด การบวช การแต่งงาน และการตาย
นอกจากนี้
มี
การศึ
กษากลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เขมรถิ่
นไทยหลายเรื่
องที่
ได้
แสดงถึ
งการ
ใช้
ภาษาในบทเพลงกล่
อมเด็
ก การขั
บเจรี
ยงแบรั
ญ ซึ่
งแสดงถึ
งเอกลั
กษณ์
ด้
านภาษา
เป็นอย่างมาก (คริ
สเตี
ยม บางเลอร์ม, 2536; วิ
จิ
ตร์นาจั
บ งามสะพรั่
ง, 2543; อรชร
ทองสดา ;2539 และ จารุ
วรรณ ธรรมวั
ตร; 2539 เป็นต้น)
การที่กลุ่มชาติพันธุ์ไทยเขมรได้มีวิธีกรรมและขนบธรรมเนียมความเชื่อที่มี
การสื
บต่ออย่างต่อเนื่
องและการใช้ภาษาในการสนทนาในชุ
มชน เป็นเรื่
องของการ
ธ�
ำรงเอกลั
กษณ์ด้านภาษาแสดงถึ
งการใช้พลั
งภูมิ
ปัญญาในการเชื่
อมโยงเครื
อข่าย
ความสั
มพั
นธ์เพื่
อความอยู่รอดของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ของตน
กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ที่
พูดภาษากูย ภาษาบรู และภาษาโส้
ซึ่
งอยู่
ในกลุ่
มของภาษา
มอญ เขมรก็
เป็นกลุ่มชาติ
พั
นธุ์หนึ่
ง ที่
มี
งานวิ
จั
ยหลายชิ้
นที่
สรุ
ปว่าเป็นกลุ่มภาษาที่
ไม่
มี
ภาษาเขี
ยน แต่
สามารถธ�
ำรงเป็
นเอกลั
กษณ์
แห่
งการสื่
อสารการปฏิ
บั
ติ
ที่
ถื
อ