Previous Page  77 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 77 / 318 Next Page
Page Background

76

โสวัฒนธรรม

ชูพิ

นิ

จ เกษมณี

(2548) ได้

กล่

าวถึ

ง ความหลากหลายทางวั

ฒนธรรมมี

3 มิ

ติ

คื

อ ความหลากหลายของวั

ฒนธรรมย่อย (subculture diversity) ความหลากหลาย

ทางมุ

มมอง (perspective diversity) และความหลากหลายทางชุ

มชน (community

diversity) หรือ ความหลากหลายชาติพันธุ์

ดังนั้

น การเข้

าใจวัฒนธรรมของกลุ่

ชาติ

พั

นธุ์

จ�ำเป็

นต้

องมี

งานวิ

จั

ยที่

เกี่

ยวข้

องกั

บการยอมรั

บในความแตกต่

าง และการ

เคารพในความแตกต่างของกลุ่มชาติ

พั

นธุ์ จึ

งต้องมี

งานวิ

จั

ยความหลากหลายทาง

ชาติ

พั

นธุ์ โดยนั

กวิ

จั

ยต้องมี

ความเป็นกลาง (objectivity) ปราศจากการถื

อชาติ

พั

นธุ์

เป็นเกณฑ์ (absence of ethnocentrism) ปราศจากการรั

งเกี

ยจเดี

ยดฉั

นท์ (absence

of prejudice) และการไม่

เลื

อกปฏิ

บั

ติ

(discrimination) ซึ่

งจะเป็

นการแลกเปลี่

ยนเรี

ยนรู้

ระหว่

างนั

กวิ

จั

ยกั

บกลุ

มชาติ

พั

นธุ

อั

นจะน�

ำไปสู่

ความเข้

าใจซึ่

งกั

นและกั

นอย่

างแท้

จริ

และความเท่าเทียมทางสังคมในสังคมไทยตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย

พุทธศักราช 2540 มาตรา 4 บัญญัติว่า “ศักดิ์ศรีของความเป็นมนุษย์ สิทธิและ

เสรี

ภาพของบุ

คคลย่อมได้รั

บความคุ้มครอง”

นั

กวิ

จั

ยต่

างวั

ฒนธรรมได้

มี

บทบาทอย่

างมากในการศึ

กษาความหลากหลาย

ทางชาติ

พั

นธุ

โดยได้

เสนอแนวความคิ

ดที่

เป็

นประโยชน์

ต่

อการวิจั

ยกลุ่

มชาติ

พันธุ

ทั้

งในวิ

ธี

วิ

ทยาของแนวความคิ

ด และทฤษฎี

ที่

เกี่

ยวข้

องกั

บพื้

นที่

ที่

ศึ

กษา เช่

น Frederick

Barth (1969) ได้

เสนอแนวความคิ

ดที่

ว่

า กลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ที่

ตั้

งรกรากในบริ

เวณเดี

ยวกั

ย่

อมจะมี

ความสั

มพั

นธ์

ซึ่

งกั

นและกั

น เรี

ยกว่

า พรมแดนทางชาติ

พั

นธุ

(ethnic boundary)

ทั้

งนี้

ต่

างฝ่

ายยอมรั

บพรมแดนระหว่

างกั

น ซึ่

งย่

อมน�

ำไปสู่

ความสมานฉันท์

ได้

การเสนอแนวความคิ

ดนี้

น่

าจะเป็

นประโยชน์

ต่

อการน�

ำไปใช้

ในการวิ

จั

ยบริ

บทในกลุ

ชาติ

พั

นธุ์ที่

อยู่พรมแดนของประเทศ เช่น เรื่

องการจั

ดการธรรมชาติ

และสิ่

งแวดล้อม

และปัญหาแรงงานข้ามชาติ

เป็นต้น

นอกจากนี้

การวิจัยตามแนวความคิดของประชาสังคม (civil society) เป็น

มุ

มมองของนั

กวิ

ชาการที่

สนใจศึ

กษาการเสริ

มสร้

างศั

กยภาพของชุ

มชน (Somjit

Daenseekaew, others, 2005; Somsak Srisontisuk, 2545; and Yoshihide, Sakurai,

and Srisontisuk,

Somsak.ed

., 2003) ได้

เสนอแนวความคิ

ดของประชาสั

งคมใน