74
โสวัฒนธรรม
4. ระบบภูมิ
ปัญญากั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตวั
ฒนธรรม เป็นพลั
งความรู้ซึ่
งชุ
มชนได้ใช้ใน
การด�
ำรงชี
วิ
ตวั
ฒนธรรม โดยมี
ความหลากหลายทางวั
ฒนธรรมที่
แตกต่
างกั
นไป
ดังจะเห็นได้
จากภูมิปัญญา การแพทย์
พื้นบ้
าน การผลิตอุของชาวผู้ไทยเรณูนคร
(ศิ
วพร, 2542) การรั
กษาโรคภั
ย การผลิ
ตในเชิ
งหั
ตถกรรม (เยาวดี
วิ
เศษรั
ตน์
,
2541) รวมทั้
งชาวไทยเขมรซึ่
งมี
ภูมิ
ปัญญาทางด้านสมุ
นไพร เกี่
ยวข้องกั
บความเชื่
อ
ตลอดจนกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
อื่
น เช่
น ชาวกวย ชาวโส้
ชาวบรู ชาวมอญ ชาวกะเลิ
ง ชาวจี
น
และชาวย้อ เป็นต้น
นอกจากนี้
ผลงานวิ
จั
ยหลายเรื่
อง ซึ่
งเป็
นแนวความคิ
ดหลากหลายทาง
ชาติ
พั
นธุ
์
เป็
นระบบภูมิ
ปั
ญญาที่
เกี่
ยวกั
บวั
ฒนธรรม การพั
ฒนา โดยเน้
นการน�
ำ
วั
ฒนธรรมไปใช้ประโยชน์ เช่น งานวิ
จั
ยของเอมอร ไพรไหล (2540) มากกว่าในเชิ
ง
ทฤษฎี
เป็นผลงานของชาวไทยกะเลิ
ง เวี
ยดนามและชาวไทยโส้ เป็นต้น
ตลอดจนศิ
ลปะกั
บวิ
ถี
ชี
วิ
ตวั
ฒนธรรมของกลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ทั้
งของชาวผู้
ไทย
ชาวเขมร ชาวกวย ชาวบรู และชาวจี
นเป็นต้น โดยส่วนมากเกี่
ยวกั
บศิ
ลปะชุ
มชน
เมื่
อพิ
จารณาจากการประเมิ
นและวิ
เคราะห์
สถานภาพองค์
ความรู้
การ
วิ
จั
ยวั
ฒนธรรมภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ ในด้
านความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
เราอาจจะกล่
าวได้
ว่
า กลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
เป้
าหมายที่
ศึ
กษามากที่
สุ
ด คื
อ ชาวผู้
ไทย
รองลงมา คื
อ ชาวไทยเขมร โดยเป็นกลุ่มเป้าหมายในการศึ
กษาตามแนวความคิ
ด
ทั้
ง 4 แนวความคิ
ด ได้แก่
พลวั
ตวิ
ถี
ชุ
มชนชาติ
พั
นธุ์ อั
ตลั
กษณ์ทางชาติ
พั
นธุ์ ระบบ
ความเชื่อกับวิถีชีวิตวัฒนธรรม และระบบภูมิปัญญากับวิถีชีวิตวัฒนธรรม แม้จะ
มี
ผลงานการศึ
กษาเป็นจ�
ำนวนมากก็
ตามแต่เป็นองค์ความรู้พื้
นฐานย่อยๆ ซึ่
งยั
งไม่
สามารถพั
ฒนาเป็นทฤษฎี
ความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ์ได้
ส�ำหรั
บกลุ
่
มชาติ
พันธุ
์
อื่
นที่
ได้
ใช้
เป็
นกลุ
่
มเป้
าหมาย เช่
น ไทยญ้
อ ไทยโย้
ย
ไทยแสก ไทยด�
ำ ไทยบรู ไทยกะเลิง ไทยโส้ ไทยกวย ชาวเวี
ยดนาม และชาวจี
น
เป็
นต้
นนั้
น กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
เหล่
านั้
น ยั
งต้
องได้
รั
บความสนใจมากขึ้
น เพื่
อให้
เกิ
ดความ
เข้าใจ การเข้าถึ
งวิ
ถี
ชี
วิ
ตวั
ฒนธรรม ซึ่
งจะน�
ำไปสู่การพั
ฒนาที่
แท้จริ
งอย่างยั่
งยื
น