Previous Page  78 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 78 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

77

ระดั

บของชุ

มชนที่

มี

ความเข้

มแข็

ง ซึ่

งเป็

นศั

กยภาพของชุ

มชนในการด�

ำรงชี

วิ

ตใน

สั

งคมอย่

างเหมาะสม ท่

ามกลางกระแสของการพั

ฒนาประเทศ และจากสั

งคมโลก

แนวความคิดดั

งกล่าวสามารถน�

ำไปศึ

กษากลุ่มชาติ

พั

นธุ์ได้

การท�ำวิจัยในกลุ่

มชาติพันธุ์

โดยนั

กวิจัยต่

างวัฒนธรรมนั้

น มีข้อได้เปรียบ

และเสียเปรียบในเรื่องความเที่ยงตรง และความเชื่อถือได้ของข้อมูลที่แตกต่างกัน

ไป ซึ่งขึ้นกับความสัมพันธ์ระหว่างนั

กวิจัยต่างวัฒนธรรมกับกลุ่มชาติพันธุ์มีความ

ลึ

กซึ้

งมากน้

อยเพี

ยงใด อย่

างไรก็

ตามการเสริ

มสร้

างนั

กวิ

จั

ยท้

องถิ่

นในแต่

ละกลุ

ชาติ

พั

นธุ

มี

ความจ�

ำเป็

น และส�

ำคั

ญอย่

างยิ่

ง ทั้

งนี้

เนื่

องจากนั

กวิ

จั

ยท้

องถิ่

นสามารถที่

จะเข้

าใจความต้

องการ การแก้

ไขปั

ญหา และอื่

นๆ ในกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ของตนได้

อย่

าง

ลึ

กซึ้

งตามวิ

ถี

ชี

วิ

ตวั

ฒนธรรมที่

แท้จริ

2.8 บทสรุปและข้อเสนอแนะ

ผลงานการวิ

จั

ยส่

วนใหญ่

เป็

นการศึ

กษาเชิ

งคุ

ณภาพ อาจมี

งานวิ

จั

ยบางเรื่

องที่

ใช้

ทั้

งสองวิ

ธี

ผสมกั

น ซึ่

งช่

วยท�

ำให้

ข้

อมูลมี

ความเที่

ยงตรงและความเชื่

อถื

อได้

มากขึ้

ส่

วนเครื่

องมื

อที่

ใช้

ในการศึ

กษาส่

วนมากเป็

นแนวทางการสั

มภาษณ์

แบบสั

มภาษณ์

แบบการสั

งเกตการณ์

โดยเทคนิ

คที่

ส�

ำคั

ญคื

อการสั

งเกตการณ์

แบบไม่

มี

ส่

วนร่

วม

และมี

ส่

วนร่

วมและใช้

เทคนิ

คของการสนทนากลุ่

ม (focus group) การถ่

ายภาพ และ

การบั

นทึ

กเสี

ยง เป็นต้น

อั

ตลั

กษณ์

ของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

เป็

นการศึ

กษาความเป็

นตั

วตนของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ที่มักจะเน้นในด้านการใช้ภาษา พิธีกรรม และพลังความคิดและภูมิปัญญา โดย

การประพฤติปฏิบัติตามวิถีที่แตกต่างกันกลุ่มชาติพันธุ์อื่นๆ มีผลงานหลายเรื่องที่

แสดงถึ

งการธ�

ำรงเอกลั

กษณ์

ทางชาติ

พั

นธุ

เป็

นอย่

างมั่

นคง โดยมี

โครงสร้

างทางสั

งคม

ของกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ที่

ส่

งเสริ

มและสร้

างเครื

อข่

ายโยงใยความเป็

นชาติ

พั

นธุ

ของตน

ซึ่

งน�

ำไปสู่ความยั่

งยื

นของเป็นความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ์