งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
79
นอกจากนี้
ยั
งแสดงให้
เห็
นว่
า ระบบภูมิ
ปั
ญญาเป็
นทุ
นทางวั
ฒนธรรม (culture capital)
ที่
แต่
ละกลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ได้
สะสม รั
กษาไว้
จนถึ
งปั
จจุ
บั
น ตลอดจนเป็
นสิ่
งที่
ท�
ำให้
เห็
นถึ
ง
ความหลากหลายของระบบภูมิปัญญาที่มีความแตกต่างกันในแต่ละทางชาติพันธุ์
อี
กด้วย
เราอาจจะสรุ
ปได้
ว่
า แนวความคิ
ดที่
เป็
นผลงานทั้
ง 4 แนวความคิ
ดนั้น
เป็
นการเน้
นให้
เห็
นถึ
งความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
ในการแก้
ปั
ญหาวิ
ถี
แห่
งการ
ด�
ำรงชี
วิ
ต เพื่
อสนองความจ�
ำเป็
นพื้
นฐานทางสั
งคม และเพื่
อความอยู่
รอดทางสั
งคม
โดยมี
ความหลากหลายในแต่ละชาติ
พั
นธุ์
สถานภาพของแนวทางการศึ
กษา ความหลากหลายทางชาติ
พันธุ
์
ในภาค
ตะวันออกเฉี
ยงเหนือ มี 4 ลักษณะ คือ การศึกษาวิถีชีวิตวัฒนธรรม การศึกษา
การเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม การศึ
กษากระบวนการปรั
บตั
ว และการ
ศึ
กษากระบวนการสร้างความเป็นอั
ตลั
กษณ์ทางชาติ
พั
นธุ์
นอกจากนี้
ทฤษฎี
ที่
ใช้
ในการศึ
กษากลุ
่
มชาติ
พั
นธุ
์
ในอดี
ตได้
ใช้
ทฤษฎี
โครงสร้
างและหน้
าที่
เป็
นส่
วนมาก โดยทั่
วไปผลงานวิ
จั
ยในอดี
ตไม่
ได้
ชี้
ชั
ดในการ
ใช้
ทฤษฎี
โครงสร้
างและหน้
าที่
แต่
ในการสรุ
ปและการแปลความหมายนั้
น ได้
ใช้
ทฤษฎี
โครงสร้
างและหน้
าที่
เป็
นกรอบแนวความคิ
ดในการวิ
จั
ยความหลากหลาย
ทางชาติพันธุ์
ดังกล่าว อย่างไรก็ตามการศึกษาโดยใช้ทฤษฎีโครงสร้
างและหน้
าที่
เป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อความเข้าใจความหลากหลายทางชาติพันธุ์ในแต่ละกลุ่ม
ชาติ
พั
นธุ์ที่
แตกต่างกั
นด้วย
ส่วนการศึกษาในปัจจุบันได้มีนั
กวิจัยได้ศึกษาค้นคว้า โดยใช้แนวความคิด
หลั
งทั
นสมั
ยของ มิ
เชล ฟรูโก (Michel Foucault) ด้วย แม้ว่าการศึ
กษาโดยใช้แนว
ความคิ
ดของฟรูโกเป็นกรอบในการวิ
จั
ย แต่ก็
ยั
งมี
ผลงานวิ
จั
ยไม่มากนั
ก