

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
241
การประเมิ
นและสั
งเคราะห์
สถานภาพองค์
ความรู้
การวิ
จั
ยด้
านศิ
ลป
วัฒนธรรม ในภาคตะวันออกเฉี
ยงเหนือ มีวัตถุประสงค์
ที่ส�
ำคัญคือ การประเมิน
สถานภาพความจ�ำเป็
นของการวิจั
ยวั
ฒนธรรมด้
านศิลปวัฒนธรรมการ วิเคราะห์
สถานภาพองค์ความรู้การวิจัยวัฒนธรรมด้านศิลปวัฒนธรรมการอภิปรายแนวคิด
ทฤษฎี
และปั
ญหาการวิ
จั
ยในมิ
ติ
ทางวิ
ธี
วิ
ทยาของการวิ
จั
ยด้
านศิ
ลปวั
ฒนธรรม เพื่
อ
การเสนอแนะแนวทางพั
ฒนาการวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมด้านศิ
ลปวั
ฒนธรรมในอนาคต
ศิ
ลปวั
ฒนธรรมเป็
นผลผลิ
ตทางสั
งคมที่
สะท้
อนเอกลั
กษณ์
ของความเป็
น
ชาติ
และลั
กษณะทางสั
งคม วิ
ถี
ชี
วิ
ต ทางโลกทั
ศน์
และการปรั
บตั
วกั
บระบบนิ
เวศ
ทางสั
งคมกั
บสภาพแวดล้อมเป็นอย่างดี ในช่วงที่
ผ่านมา งานด้านศิ
ลปวั
ฒนธรรม
ได้
มุ
่
งเน้
นไปที่
การอนุ
รั
กษ์
ส่
งเสริ
มและการสื
บสานเป็
นหลั
ก อั
นเป็
นผลท�
ำให้
งานวั
ฒนธรรมบางอย่
างได้
เลื
อนหายไปตามกาลเวลา ด้
วยเหตุ
ผลที่
ผลผลิ
ตทาง
วั
ฒนธรรมไม่
ได้
ท�ำหน้
าที่
ตอบสนองสั
งคมได้
โดยตรง ทั้งการใช้
ประโยชน์
และการ
ท�
ำหน้าที่
ตอบสนองในแต่ละสั
งคม ซึ่
งเป็นเหตุ
ผลของการเปลี่
ยนแปลงสั
งคมในยุ
ค
โลกาภิ
วั
ฒน์และสั
งคมข่าวสารที่
ไร้พรมแดน
ท่ามกลางปัญหาของโลกในกระแสทุ
นนิ
ยม หลายชาติ
ในโลกต่างเริ่
มหั
นมา
ทบทวน การพั
ฒนาอย่
างมั่
นคงท่
ามกลางรากฐานทางวั
ฒนธรรมและภูมิ
ปั
ญญาของ
ท้องถิ่
นตนเอง ก่อนก้าวไปตามกระแสของสั
งคมอื่
น อั
นเป็นผลท�
ำให้เกิ
ดวิ
กฤตทาง
เศรษฐกิ
จและสังคมตามมา ส�
ำหรั
บสั
งคมไทยแล้
วประเด็นส�
ำคัญของการพัฒนา
สั
งคมบนรากฐานทางภูมิ
ปั
ญญาของตนเองคื
อ การทบทวนความรู้
ภูมิ
ปั
ญญา
ท้องถิ่
น การสร้างความตระหนั
กเกี่
ยวกั
บรากฐานทางวั
ฒนธรรม เป็นสิ่
งที่
น�
ำมาซึ่
ง
รากฐานของความเข้
มแข็
งทางเศรษฐกิ
จ อย่
างไรก็
ตาม ก่
อนการสร้
างความเข้
มแข็
ง
บนรากฐานทางเศรษฐกิจ จ�ำเป็นอย่
างยิ่งที่จะต้องทบทวนความรู้
และภูมิปัญญา
ของแต่
ละท้
องถิ่
นเพื่
อให้
เข้
าใจศิ
ลปะและวั
ฒนธรรมในหลายมิ
ติ
กล่
าวคื
อ ต้
อง
ศึ
กษาค้
นหาองค์
ความรู้
ทางศิ
ลปวั
ฒนธรรม ท�
ำให้
เกิ
ดการรั
บรู้
คุ
ณค่
าก่
อนท�ำให้
เกิ
ด
มูลค่
าจากวั
ฒนธรรม โดยเฉพาะการเกิ
ดแนวคิ
ดทางเศรษฐกิ
จร่
วมสมั
ยคื
อ การสร้
าง
เศรษฐกิ
จบนพื้
นฐานของภูมิ
ปัญญาท้องถิ่
นและทุ
นทางวั
ฒนธรรม