งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
225
หั
ตถกรรมก็
โยงไปถึ
งคุ
ณค่
าของวิ
ถี
การด�
ำเนิ
นชี
วิ
ต กฎเกณฑ์
ในการอยู่
รวมกั
นใน
ชุมชน และงานบุญประเพณีเป็นต้น นอกนั้
น ยังจะโยงไปถึงประสบการณ์ในการ
ประยุ
กต์
วั
ฒนธรรม การรั
บเอาความรู้
และเทคโนโลยี
สมั
ยใหม่
เช่
น การบริ
หาร
จั
ดการแหล่งน�้
ำเพื่
อการเกษตร
คนส่วนใหญ่มักเข้าใจผิดว่า การด�
ำเนิ
นงานด้านวัฒนธรรมพื้นบ้าน น่าจะ
เกี่
ยวกั
บศาสตร์และศิ
ลป์บริ
สุ
ทธิ์
ไม่ควรไปยุ่งเกี่
ยวกั
บการพั
ฒนา ยกตั
วอย่าง การ
ศึ
กษาเรื่
องนิ
ทานพื้
นบ้
าน เพลงกล่
อมเด็
ก ดนตรี
พื้
นบ้
านจะไปเกี่
ยวกั
บกระบวนการ
พั
ฒนาได้
อย่
างไร ถ้
าไม่
แยกสิ่
งเหล่
านี้
ออกจากบริ
บทชี
วิ
ตของชาวบ้
านทั้
งหมด เรื่
อง
เหล่
านี้
ก็
คื
อส่
วนหนึ่
งของวั
ฒนธรรมและการพั
ฒนา การสนทนากั
บชาวบ้
านด้
วย
ความสนิ
ทสนมประหนึ่
งญาติ
นอกจากจะท�
ำให้ผู้ศึ
กษาเข้าถึ
งไม่เพี
ยงแต่ “ข้อมูล”
แต่
สามารถเข้
าถึ
งความรู้
สึ
กนึ
กคิ
ดหรื
อ “วิ
ญญาณ” ของข้
อมูลนั้
น การสนทนา
จะมี
สี
สั
นและปลุ
กเร้
าพลั
งของวิ
ญญาณดั้
งเดิ
ม ให้
กลั
บมี
ชี
วิ
ต เป็
นส�
ำนึ
กทาง
ประวั
ติ
ศาสตร์ เป็นพลั
งทางวั
ฒนธรรม ที่
ท�
ำให้ชาวบ้านเกิ
ดความเชื่
อมั่
นในตนเอง
ไม่
รู้
สึ
กต�่
ำต้
อยหรื
อไม่
มี
คุ
ณค่
า พร้
อมที่
จะอนุ
รั
กษ์
ฟื
้
นฟู และประยุ
กต์
คุ
ณค่
าเหล่
านั้
น
เพื่
อการพั
ฒนาตนเองต่อไป
ศรั
ทธาและความเชื่
อเป็
นพลั
งที่
ประหลาด คนที่
มี
สิ่
งเหล่
านี้
อย่
างแน่
วแน่
ย่
อม
สามารถสร้าง “ปาฏิหาริย์” ได้ เรื่องเช่นนี้ไม่ได้เกิดขึ้นเฉพาะในแวดวงการรักษา
โรคแบบพื้
นบ้านเท่านั้
น หากแต่เกิ
ดขึ้
นในเรื่
องอื่
นๆ ของชี
วิ
ตชุ
มชน ถ้าผู้ด�
ำเนิ
นงาน
ด้
านวั
ฒนธรรมพื้
นบ้
านมี
ศรั
ทธาและเชื่
อมั่
นในชาวบ้
าน ให้
พวกเขามี
ส่
วนร่
วมและมี
บทบาทส�
ำคั
ญ งานด้านนี้
จะสร้างมิ
ติ
ใหม่ ไม่เพี
ยงแต่ในแวดวงการศึ
กษา แต่จะมี
คุ
ณค่าในกระบวนการเรี
ยนรู้และการพั
ฒนาทั้
งระดั
บท้องถิ่
นและระดั
บชาติ