228
โสวัฒนธรรม
5. ยั
งไม่ปรากฏผลงานวิ
จั
ยชิ้
นใดมุ่งสร้างความเข้าใจต่อชุ
มชนให้เห็
นความ
ส�
ำคั
ญของของภูมิ
ปั
ญญาท้
องถิ่
นและภูมิ
ปั
ญญาของมนุ
ษย์
ว่
าไม่
จ�
ำเป็
นที่
จะต้
อง
เกิ
ดขึ้
นเฉพาะในห้
องเรี
ยนหรื
อห้
องทดลองวิ
ทยาศาสตร์
เท่
านั้
น แต่
กระแสของ
ปั
ญญาเป็
นกระแสที่
ถ่
ายทอดประสบการณ์
แห่
งการเรี
ยนรู้
จากรุ่
นสู่
รุ่
นที่
มี
ระยะเวลา
ที่ยาวนานกว่า กว้างกว่าและมีความลึกซึ้งมากกว่าการเรียนในชั้นเรียนเพราะการ
เรี
ยนในชั้
นเรี
ยนนั้
น เป็
นเพี
ยงกระบวนการในการถ่
ายทอดทางเทคโนโลยี
มากกว่
าการ
พั
ฒนาปัญญาเป็นการแสวงหาความรู้ในวงแคบและสั้
น แต่วั
ฒนธรรมเป็นปัญญา
ที่
เกิ
ดจากการเรี
ยนรู้
ของมนุ
ษย์
ตั้
งแต่
ดึ
กด�
ำบรรพ์
ที่
ถ่
ายทอดมาหลายชั่
วอายุ
คน จึ
ง
เป็
นการสืบทอดที่เป็
นกระแสธารปั
ญญาที่ยาวนานกว่
า กว้างไกลกว่า ที่กล่
าวว่
า
กว้
างไกลกว่
าก็
เพราะว่
าวั
ฒนธรรมเป็
นความรู้
เชิ
งบูรณาการที่
เกี่
ยวข้
องกั
บความเป็
น
อยู่
ของมนุ
ษย์
ในทุ
กๆ ด้
านทั้
งในด้
านเศรษฐกิ
จ สั
งคมและสิ่
งแวดล้
อมและที่
กล่
าวว่
า
มีความลึกซึ้งกว่ากันก็เพราะวัฒนธรรมมีมิติทางจิตใจและจิตวิญญาณที่ประกอบ
ด้วยคุ
ณธรรมและจริ
ยธรรมอั
นเป็นความสุ
ขที่
ประณี
ตและงดงาม
6. ผลงานวิ
จั
ยยั
งไม่
ได้
ชี้
ให้
เห็
นว่
าฐานของสั
งคมคื
อวั
ฒนธรรมโดยการ
เปรียบเทียบให้เห็นว่า ถ้าสถาปัตยกรรมทางสังคมยิ่งสูงขึ้น ยิ่งต้องมีฐานที่มั่นคง
แน่นหนา ถ้าฐานของสั
งคมไม่แน่นพอสั
งคมก็
จะแกว่งและล่มได้ง่าย
7. จากผลการวิ
จั
ยยั
งไม่
ปรากฏแนวคิ
ดอั
นแสดงให้
สั
งคมท้
องถิ่
นได้
ทราบ
ว่
าการศึ
กษาที่
เน้
นการเรี
ยนเฉพาะความรู้
จากหนั
งสื
อซึ่
งไม่
มี
รากฐานอยู่
ในวั
ฒนธรรม
จึงเท่ากับการตัดคนออกจากรากเหง้
าทางวัฒนธรรมของตนเอง วัฒนธรรมที่ขาด
การปฏิ
บั
ติ
ก็
จะสูญสลายไปในที่
สุ
ดและจะไม่
มี
การหวนกลั
บคื
นมาอี
กเป็
นการท�
ำลาย
มรดกทางภูมิ
ปั
ญญาของบรรพชนอย่
างน่
าเสี
ยดายยิ่
ง ดั
งนั้
นนั
กวิ
จั
ยจะต้
องชี้
ให้
สั
งคมได้
ทราบและตระหนั
กถึ
งคุ
ณค่
าของวั
ฒนธรรมว่
า ถ้
าวั
ฒนธรรมสูญหายไป
จากแผ่
นดิ
นไทย ก็
จะตรงกั
บพระราชด�
ำรั
สของพระบาทสมเด็
จพระเจ้
าอยู่
หั
วที่
ว่
าการ
สูญสี
ยวั
ฒนธรรมคื
อการสูญเสี
ยชาติ
8. การวิจั
ยควรชี้
ให้เห็
นว่า การพั
ฒนาที่
ตั
ดขาดจากรากฐานทางวั
ฒนธรรม
ของตนเอง จะก่
อให้
เกิ
ดผลเสี
ยหายต่
อท้
องถิ่
นและประเทศชาติ
โดยรวมสุ
ดคณานั
บ