งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
21
ป่
าชุ
มชน โดยน�
ำเอากระบวนการทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมประเพณี
มาเป็
นเครื่
องมื
อ
ในการอนุ
รั
กษ์
ป่
า ส่
วนกรณี
ของทรั
พยากรน�้
ำนั้
น ศึ
กษาถึ
งสถานการณ์
และ
แนวโน้
มของแหล่
งน�้ำซึ่
งจะพบปั
ญหาส�ำคั
ญคื
อ แหล่
งน�้ำตื้
นเขิ
น มี
มลภาวะทางน�้ำ
การแพร่
ขยายของวั
ชพื
ช ความขั
ดแย้
งระหว่
างหน่
วยงานของรั
ฐกั
บประชาชนใน
การเข้
าไปจั
ดการแหล่
งน�้
ำ เช่
น เหตุ
การณ์
ที่
เขื่
อนปากมูล จั
งหวั
ดอุ
บลราชธานี
เขื่
อนราศี
ไศล จั
งหวั
ดศรี
สะเกษ เป็
นต้
น 2.ชุ
มชนแออั
ดในสั
งคมเมื
อง กล่
าวถึ
งสาเหตุ
แห่งปัญหาเกิ
ดจากชาวชนบทที่
มี
ฐานะยากจน ละทิ้
งอาชี
พภาคการเกษตรที่
ไม่พอ
เลี้ยงครอบครัว และ 3.การจัดการทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งผลการศึกษาวิจัยได้ให้
ความส�ำคัญต่อสตรีในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ โดยงานวิจัยจะน�ำเสนอถึง
บทบาทของสตรี
กั
บขบวนการเคลื่
อนไหวทางสิ่
งแวดล้อม
นอกจากนี้
ผู้
เขี
ยน ได้
กล่
าวถึ
งผลงานวิ
จั
ยด้
านศาสนา ความเชื่
อและ
วั
ฒนธรรม สามารถจั
ดเป็
นหมวดหมู่
เป็
นดั
งนี้
คื
อ 1.ด้
านการอนุ
รั
กษ์
เกี่
ยวกั
บบทบาท
ของพระสงฆ์
ในการอนุ
รั
กษ์
ศิ
ลปวั
ฒนธรรม บทบาทของประชาชนหรื
อชาวบ้
าน และ
บทบาทของภาครั
ฐ อั
นประกอบโดยโรงเรี
ยน ส�ำนั
กงานศึ
กษาธิ
การ หน่
วยงานภาครั
ฐ
ได้ให้การส่งเสริ
มการจั
ดกิ
จกรรมทางวั
ฒนธรรมมาด้วยดี
2.โลกทั
ศน์และความเชื่
อ
ผลการวิจัยพบว่าชาวอีสานยังคงมีโลกทัศน์ที่มั่นคงเหนียวแน่นต่อระบบความเชื่อ
ต่างๆ ในด้านศาสนา ขนบธรรมเนียม ประเพณีและวั
ฒนธรรมที่จะมีผลทั้งต่อคน
ต่อธรรมชาติ
และอ�
ำนาจเหนื
อธรรมชาติ หรื
อวั
ฒนธรรมข้าวที่
พยายามชี้
ให้เห็
นว่า
ข้าวมีความส�
ำคัญไม่ใช่เพื่อการบริ
โภคเท่านั้
น หากแต่ข้าวยังเป็นเครื่องหมายทาง
วั
ฒนธรรมและเป็นสั
ญลั
กษณ์ของพลั
งชี
วิ
ตด้วย
ส�
ำหรั
บแนวความคิ
ดทางทฤษฎี
ในการศึ
กษาวั
ฒนธรรมกั
บการพั
ฒนา
ผู้
เขี
ยนได้
กล่
าวถึ
ง แนวความคิ
ดทางทฤษฎี
ที่
นั
กวิ
ชาการได้
ใช้
เป็
นกรอบแนวความคิ
ด
ในการวิ
จั
ย หรื
อเป็
นกรอบในการวิ
เคราะห์
โดยใช้
ทฤษฎี
โครงสร้
างและหน้
าที่
ทฤษฎี
ความล้าหลั
งทางวั
ฒนธรรม และทฤษฎี
การเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม
ซึ่
งได้
พบว่
าการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมนั้
นเกิ
ดขึ้
นตลอดเวลาและเกิ
ด
การเปลี่
ยนแปลงที่
ขาดสมดุลภาพ