24
โสวัฒนธรรม
กั
บเครื่
องดนตรี
คื
อ แคน จากนั้
นการขั
บนิ
ทานกั
บดนตรี
จึ
งได้
พั
ฒนาการมาเป็
น
การล�ำ ส่วนล�ำฝีฟ้า คือการขับล�
ำในพิธีกรรมการรักษาโรคภัยไข้เจ็บ โดยมีผู้ทรง
หรือนางเทียมท�ำหน้าที่อัญเชิญผีฟ้าลงมาบ�ำบัดรักษา ในพิธีกรรมคือการอัญเชิญ
ผี
ฟ้าลงมารั
กษาด้วยการขั
บล�
ำเป็นกลอนประกอบจั
งหวะดนตรี
คื
อแคน
ตลอดจนผู้เขียนได้กล่าวถึงผลงานของผู้วิจัยที่มีพื้นฐานทางสถาปัตยกรรม
และนักวิ
จั
ยที่
มี
พื้
นฐานทางด้
านศิ
ลปะ ในการใช้
วิ
ธี
วิ
ทยาในการศึ
กษาจึ
งเน้
นที่
รูปแบบและพัฒนาการเป็นส�
ำคัญ ทางด้านสถาปัตยกรรมพื้นถิ่น จุดเด่นของการ
วิ
จั
ยในช่
วงระยะนี้
อยู่
ที่
การศึ
กษาลั
กษณะทางสถาปั
ตยกรรมของกลุ
่
มชนหลากหลาย
ชาติ
เช่นเดี
ยวกั
บงานวิ
จั
ยด้านหั
ตถกรรม ยั
งเห็
นภาพความหยุ
คนิ่
งและการจ�
ำแนก
แยกแยะรูปแบบ มากกว่
าที่
จะเห็
นหั
ตถกรรมในฐานะของผลผลิ
ตที่
ตอบสนองชุ
มชน
และสั
งคม
ผู้
เขี
ยนได้
สรุ
ปว่
า งานศึ
กษาด้
านศิ
ลปวั
ฒนธรรมมี
ลั
กษณะ 2 มิ
ติ
คื
อ
1.องค์
ความรู้
ทางศิ
ลปวั
ฒนธรรมที่
มาจากการรวบรวมของปราชญ์
ท้
องถิ่
น และ
2.องค์ความรู้ทางศิลปวัฒนธรรมที่มาจากการวิจัยด้
วยวิธีวิทยาทางมนุษยศาสตร์
สั
งคมวิ
ทยา มานุ
ษยวิ
ทยา อาจกล่าวได้ว่ากระบวนการแสวงหาความรู้ในลั
กษณะ
นี้เป็นการวิจัยความรู้ท้องถิ่น จากคนท้องถิ่นภายใต้กระบวนการแสวงหาความรู้ที่
ไม่
ได้ใช้
กรอบแนวคิดการวิจัยแบบอย่
างทางวิชาการแบบตะวันตก ทั้งนี้ผู้
เขียนได้
ชี้
ให้
เห็
นศิ
ลปวั
ฒนธรรมนอกระบบการวิ
จั
ยที่
น่
าสนใจ เช่
น หนั
งสื
อชุ
ดเฉลิ
มพระเกี
ยรติ
พระบาทสมเด็
จพระเจ้
าอยู่
หั
วฯ เรื่
อง พั
ฒนาการทางประวั
ติ
ศาสตร์
เอกลั
กษณ์
และ
ภูมิ
ปัญญา จั
งหวั
ดต่างๆ ทั้
ง 19 จั
งหวั
ด 19 ชุ
ดจั
ดพิ
มพ์โดยกรมศิ
ลปากร ระหว่าง
ปี
พุ
ทธศั
กราช 2542-2544 ผลงานมาจากการค้
นคว้
า รวบรวมและเรี
ยบเรี
ยงโดย
นั
กวิ
ชาการท้องถิ่
นแต่ละจั
งหวั
ด
ในฐานะบรรณาธิ
การผู้
เขี
ยนมี
ความเห็
นว่
าการสั
งเคราะห์
ผลงานวิ
จั
ยผ่
าน
ทางบรรณานิ
ทั
ศน์
ของภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อในครั้
งนี้
เป็
นงานเขี
ยนที่
เป็
น
ประโยชน์
ต่
อการเป็
นฐานข้
อมูล เพื่
อทราบสถานภาพองค์
ความรู้
ด้
านการวิ
จั
ย
วั
ฒนธรรมในภาคตะวั
นออกเฉียงเหนื
อเป็
นอย่
างมาก มี
หลายประเด็
นเพื่
อเป็
น