Previous Page  26 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 26 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

25

หนทางการศึ

กษาวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมในอนาคต ดั

งข้

อสั

งเกต หรื

อข้

อเสนอแนะบาง

ประการ ทั้งที่มาจากบทความของผู้

เขียนแต่

ละคน และมาจากผู้บรรณาธิการดัง

ต่อไปนี้

ประเด็

นการส่งเสริ

มการวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมด้านความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ์

คื

อ 1) ด้

านแนวความคิ

ดใหม่

ๆ ให้

มากขึ้

น โดยเฉพาะในด้

านทางการเมื

อง การศึ

กษา

การปรั

บตั

ว วั

ฒนธรรม การผสมผสานทางวั

ฒนธรรม การศึ

กษาข้

ามวั

ฒนธรรม

ชายแดน การจั

ดการทรั

พยากรธรรมชาติ

และสิ่

งแวดล้

อม 2) ด้

านวิ

จั

ยกลุ

มชาติ

พั

นธุ์

เป้

าหมายที่

ยั

งไม่

ได้

ศึ

กษา เพื่

อจะท�

ำให้

มี

ความเข้

าใจความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ

มากยิ่

งขึ้

น และ 3) ด้

านการวิ

จั

ยกลุ

มชาติ

พั

นธุ

ที่

ยั

งคงรั

กษาอั

ตลั

กษณ์

ทางชาติ

พั

นธุ

ได้

อย่างมั่

นคง เพื่

อจะเป็นแนวทางในการพั

ฒนากลุ่มชาติ

พั

นธุ์อื่

นๆ ต่อไป

ประเด็

นการส่

งเสริ

มการวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมด้

านพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญา คื

1) การจั

ดการความรู้

การวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมด้

านพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญา เพื่

อให้

เกิ

กระบวนการถ่

ายทอดจากรุ

นสู่

รุ

นต่

อๆ ไป 2) แนวทางการประยุ

กต์

การวิ

จั

ยวั

ฒนธรรม

ด้

านพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญาตามนโยบายของรั

ฐและประเทศเพื่

อนบ้

าน

ในอนุ

ภูมิ

ภาคลุ

มน�้

ำโขง ซึ่

งจะส่

งผลต่

อการพั

ฒนาบนรากฐานด้

านพลั

งความคิ

และภูมิปัญญาของชุ

มชน ย่อมน�

ำไปสู่การพั

ฒนาของชุ

มชน โดยชุ

มชน เพื่

อชุ

มชน

อย่

างยั่

งยื

นต่

อไป และ 3) การส่

งเสริ

มพั

ฒนานั

กวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมหน้

าใหม่

ให้

มากยิ่

งขึ้

ที่

มี

ความรู้

ความสามารถในการศึ

กษาวิ

จั

ยและพั

ฒนาด้

านพลั

งความคิ

ดและ

ภูมิ

ปั

ญญา และวั

ฒนธรรมด้

านอื่

นๆ ในพื้

นที่

ชายแดนรอบด้

าน คื

อ เส้

นทางระเบี

ยง

เศรษฐกิ

จตะวั

นออก-ตะวั

นตก (East-West Economic Corridor)

ประเด็

นการส่

งเสริ

มการวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมด้

านวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนา คื

1) ผู้

วิ

จั

ยควรท�

ำวิ

จั

ยวั

ฒนธรรม ที่

ตอบสนองความต้

องการของชุ

มชน โดยศึ

กษาวิ

จั

แบบมี

ส่

วนร่

วมกั

บชุ

มชนท้

องถิ่

น ที่

มี

ความพร้

อมในการวิ

จั

ยวั

ฒนธรรมท้

องถิ่

นของตน

เพื่

อน�

ำผลไปสู่

การพั

ฒนา ทั้

งนี้

บทบาทของผู้

วิ

จั

ยจ�

ำเป็

นต้

องไปปรั

บกระบวนทั

ศน์

ของ

ประชาชนโดยทั่วไปให้

เกิดความเข้าใจความหมายของของวัฒนธรรมตามแนวคิด

ใหม่

กล่

าวคื

อ วั

ฒนธรรมไม่

ได้

หมายถึ

งเพี

ยงการแสดง การละเล่

น การร้

องร�ำท�

ำเพลง