งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน
23
ได้กล่
าวถึงรูปแบบการวางกรอบแนวคิด ทฤษฎีและการทบทวนวรรณกรรม เป็น
แบบแผนของระเบี
ยบวิ
ธี
การวิ
จั
ย แต่
การอภิ
ปรายโดยที่
ไม่
ได้
น�ำกรอบแนวคิ
ด ทฤษฎี
และการเปรี
ยบเที
ยบกั
บวรรณกรรมอื่
น ย่อมท�
ำให้ผลงานการศึ
กษาขาดน�้
ำหนั
กใน
การวิ
เคราะห์
ผู้
เขี
ยนยั
งกล่
าวถึ
งสถานภาพองค์
ความรู้
ของผลงานวิ
จั
ยใช้
หน้
าที่
นิ
ยม
สั
ญลั
กษณ์
นิ
ยมเป็
นกรอบแนวคิ
ดหลั
ก ในการศึ
กษาทางวั
ฒนธรรมโดยเฉพาะอย่
างยิ่
ง
ผลผลิ
ตทางวั
ฒนธรรมที่
เป็นงานศิ
ลปกรรม สถาปัตยกรรมและงานหั
ตถกรรม
อย่
างไรก็ดี ผู้เขียนได้กล่
าวถึงความโดดเด่
นของการศึกษาศิลปะพื้นถิ่นใน
ภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อคื
อ ความพยายามใช้
ความหลากหลายทางทฤษฎี
และ
ความหลากหลายทางมิ
ติ
ในการศึ
กษาจิ
ตรกรรมฝาผนั
ง ทั้
งนี้
ได้
ใช้
วิ
ธี
การศึ
กษา
แบบพรรณนาเชิ
งพั
ฒนาการ และพั
ฒนาการของรูปแบบ ซึ่
งเป็นวิ
ธี
วิ
ทยาหลั
กของ
การศึกษาทางประวัติสาสตร์ศิลปะ นอกจากนั้
นยังมีกระบวนการศึกษาเกี่ยวกับสี
โครงสร้
างรูปแบบ และแนวคิ
ดที่
น�
ำเสนอมาใช้
กั
บงานศิ
ลปะร่
วมสมั
ย ความพยายาม
ในการถอดรหั
สความคิ
ด กระบวนการสร้
างสรรค์
ของสกุ
ลช่
างท้
องถิ่
นผู้
ผลิ
ตผลงาน
จิตรกรรม ส�
ำหรับการตีความทางศิลปะและประติมานวิทยา (Iconography) เป็
น
กระแสหลั
กของการวิ
จั
ยทางประวั
ติ
ศาสตร์
ศิ
ลปะในภาคตะวั
นออกเฉียงเหนื
อนี้
นั
กวิ
ชาการทางด้
านศิ
ลปะเองเป็
นผู้
ให้
ความสนใจในการศึ
กษาประติ
มานวิ
ทยาของ
ผลผลิ
ตทางศิ
ลปะในอดี
ต ประติ
มานวิ
ทยาเป็
นเรื่
องของการศึ
กษารูปแบบทางศิ
ลปะ
ที่
ถ่
ายทอดมาเป็
นผลงานประติ
มากรรม เพื่
อศึ
กษาเบื้
องหลั
งความคิ
ด ความเชื่
อและ
คติ
นิ
ยมในทางศาสนา คื
อ คติ
ทางพุ
ทธศาสนาและศาสนาพราหมณ์
ผู้เขี
ยนยั
งได้กล่าวถึ
ง หมอล�
ำ ศิ
ลปะการแสดงและดนตรี
ในภาคตะวั
นออก
เฉี
ยงเหนื
อ ซึ่
งเป็นศิ
ลปวั
ฒนธรรมอั
นมี
เอกลั
กษณ์และอั
ตลั
กษณ์เฉพาะของท้องถิ่
น
มี
ทั้
งที่
เกิ
ดขึ้
นภายใต้บริ
บททางวั
ฒนธรรมของชุ
มชนท้องถิ่
นและศิ
ลปวั
ฒนธรรมที่
มี
การปรั
บปรุ
งเปลี่
ยนแปลงจากวั
ฒนธรรมภายนอกภูมิ
ภาค กลายเป็
นลั
กษณะเฉพาะ
ของท้
องถิ่
น ศิ
ลปวั
ฒนธรรมการแสดงในวิ
ถี
ชี
วิ
ตของชุ
มชนภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ
ส่
วนสถานภาพองค์
ความรู้
การวิ
จั
ยด้
านศิ
ลปวั
ฒนธรรม ได้
พบความเป็
น
เอกลั
กษณ์การแสดงที่
โดดเด่นของศิ
ลปวัฒนธรรมการแสดงคื
อ หมอล�
ำ ประกอบ