Previous Page  19 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 19 / 318 Next Page
Page Background

18

โสวัฒนธรรม

และภูมิ

ปั

ญญา ได้

ให้

ความส�

ำคั

ญกั

บการศึ

กษาวิ

จั

ยบทบาทสตรี

มากขึ้

น การ

ปรั

บเปลี่

ยนบทบาทผู้หญิ

งในสั

งคมอี

สาน บทบาทผู้หญิ

งกั

บการพั

ฒนา ผู้หญิ

งกั

ขบวนการต่

อสู้

ตอบโต้

ต่

อรอง กั

บความขั

ดแย้

งที่

เกิ

ดจากการพั

ฒนา หรื

อการศึ

กษา

ประเด็

นของเพศสภาพ (gender) ระหว่

างชายหญิ

ง เป็

นต้

น อนึ่

งมี

การใช้

แนวคิ

ดสกุ

หลั

งทั

นสมั

ย (postmodern) เช่

น แนวคิ

ดอั

ตลั

กษณ์

แนวคิ

ดคนชายขอบ แนวคิ

ดวาทกรรม

หรื

อแนวคิ

ดคนพลั

ดถิ่

น เป็นต้น

ส�ำหรับวิธีวิทยาที่ใช้ในการศึกษาวิจัยทางวัฒนธรรมด้านพลังความคิดและ

ภูมิ

ปั

ญญา ส่

วนใหญ่

ยั

งคงให้

ความส�

ำคั

ญกั

บกระบวนการวิ

จั

ยโดยใช้

วิ

ธี

วิ

ทยา

เชิ

งคุ

ณภาพในกระบวนการเก็

บข้

อมูล การศึ

กษาวิ

จั

ยจึ

งต้

องใช้

กลวิ

ธี

การวิ

จั

ยเชิ

คุ

ณภาพที่

มี

วิ

ธี

การที่

หลากหลายร่

วมด้

วย นอกจากนี้

ผู้

เขี

ยนยั

งได้

กล่

าวว่

า การ

วิ

จั

ยวั

ฒนธรรมด้

านพลั

งความคิ

ดและภูมิ

ปั

ญญายั

งผูกโยงกั

บประเด็

นการพั

ฒนา

มาโดยตลอด แสดงถึ

งปั

ญหาการพั

ฒนาประเทศที่

ผ่

านมายั

งประสบปั

ญหาอุ

ปสรรค

ต่

อการพั

ฒนาคุ

ณภาพชี

วิ

ตของประชาชนอยู่

ระดั

บหนึ่

ง ผู้

เขี

ยนได้

วิ

เคราะห์

ถึ

งปั

ญหา

การพั

ฒนาประเทศ ที่

จะต้

องค�

ำนึ

งถึ

งวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนา รวมทั้

งพยายาม

ใช้

วั

ฒนธรรมเพื่

อการพั

ฒนา มิ

ใช่

พั

ฒนาวั

ฒนธรรม จึ

งเป็

นความท้

าทายของ

นั

กวิจัยวัฒนธรรมที่จะน�ำองค์ความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมมาใช้ให้เกิดประโยชน์และ

สอดรั

บกั

บสถานการณ์

ทางสั

งคมที่

เปลี่

ยนแปลงอย่

างรวดเร็

วได้

ในกระแสโลกาภิ

วั

ตน์

ในสั

งคมไทยต่อไป

3. บทความวิจัยเรื่องวัฒนธรรมกับการพัฒนา

บทความวิ

จั

ย เรื่

องวั

ฒนธรรมกั

บการพั

ฒนานี้

ผู้เขี

ยน คื

อ สมมาตร์ ผลเกิ

ได้สรุปสถานภาพองค์ความรู้วิจัยวัฒนธรรมว่า เป็นการศึกษาวิจัยเรื่องวัฒนธรรม

พื้นบ้านที่ชาวบ้านมีส่วนร่วม คือการวิจัยที่สร้างส�

ำนึ

กให้กับชุมชน และสร้างพลัง

ในการแก้ไขปัญหาต่างๆ นอกจากนี้

ผลงานวิ

จั

ยเกี่

ยวข้องกั

บการส่งเสริ

มหั

ตถกรรม

พื้

นบ้

าน แต่

ชาวบ้

านไม่

มี

ส่

วนร่

วมในการก�

ำหนดรูปแบบ เนื้

อหา วิ

ธี

การ และราคาสิ

นค้

ไม่

ได้

รั

บการสนั

บสนุ

นให้

มี

ความรู้

ความสามารถและทุ

นในการจั

ดการทรั

พยากรของ