16
โสวัฒนธรรม
พลังความคิดและภูมิปัญญาได้มีผลงานวิจัยเป็น 3 ลักษณะ คือ การศึกษาพลัง
ความคิ
ดและอุ
ดมการณ์
การศึ
กษาภูมิ
ปั
ญญาด้
านทุ
นเศรษฐกิ
จ และการศึ
กษา
ภูมิ
ปั
ญญาในฐานพลั
งชุ
มชน ทั้
ง 3 ลั
กษณะนี้
ยั
งเกี่
ยวข้
องกั
บด้
านวั
ฒนธรรมกั
บ
กลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ด้
วย เนื่
องจากบริ
บทของภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อสั
งคมเป็
นลั
กษณะ
ความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
นอกจากนี้
ผลงานวิ
จั
ยท�
ำให้
เห็
นความเป็
นพลวั
ตของ
วั
ฒนธรรม ปั
จจั
ยที่
เอื้
อ และส่
งผลต่
อวั
ฒนธรรมตามกระแสทางสั
งคม และการเมื
อง
ที่
เปลี่
ยนแปลงตลอดเวลา
ผู้
เขี
ยนได้
กล่
าวกระบวนการวิ
จั
ยว่
าเป็
นการศึ
กษาสั
งคมโดยนั
กสั
งคมศาสตร์
ตามกระบวนการการวิ
จั
ยสั
งคมอี
สาน โดยมี
แนวคิ
ดและวิ
ธี
วิ
ทยาในการศึ
กษาวิ
จั
ย
สามารถแบ่งได้เป็น 3 กลุ่มคื
อ 1) ระเบี
ยบวี
ธีการศึ
กษากระแสหลั
ก ทั้
งเชิ
งปริ
มาณ
และเชิ
งคุ
ณภาพ 2) ระเบี
ยบวิ
ธี
การศึ
กษาเพื่
อการพั
ฒนาได้แก่ ระเบี
ยบวิ
ธี
การวิ
จั
ย
เชิ
งปฏิ
บั
ติ
การที่
ส่งเสริ
มให้ชุ
มชนมี
ส่วนร่วม การประเมิ
นสภาวะชนบทแบบเร่งด่วน
และ 3) การวิจั
ยไทบ้าน ส่วนผลจากการสั
งเคราะห์งานวิ
จั
ยทางวั
ฒนธรรมในภาค
ตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อสะท้
อนให้
เห็
นว่
า ผลงานวิ
จั
ยด้
านพลั
งความคิ
ดและภูมิ
ปั
ญญา
ได้
มี
ผลงานวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมทางภูมิ
ศาสตร์
ประวั
ติ
ศาสตร์
ท้
องถิ่
น ประวั
ติ
ศาสตร์
กลุ
่
ม
ชาติ
พั
นธุ
์
ด้
านอุดมการณ์
พลั
งความคิ
ดความเชื่อ ผลงานวิจั
ยหลายชิ้นได้
ท�
ำการ
ศึกษาองค์ความรู้ท้องถิ่น หรือภูมิปัญญาต่างๆ ที่ถ่ายทอดสืบต่อมาจนเป็นจารีต
ประเพณี
วั
ฒนธรรม ซึ่
งแสดงให้
เห็
นการสื
บทอด การตอกย�้
ำ และการผลิ
ตใหม่
ในเชิ
งวั
ฒนธรรมให้
เข้
ากั
บการเปลี่
ยนแปลงต่
างๆ ที่
เกิ
ดขึ้
นในสั
งคมอี
สานตลอดเวลา
ที่
ผ่านมา
ส�
ำหรั
บผลงานวิ
จั
ยด้
านพลั
งความคิ
ดและอุ
ดมการณ์
ผู้
เขี
ยนได้
กล่
าวถึ
ง
ความคิดและอุดมการณ์ที่เป็นปัญหาความขัดแย้งระหว่างรัฐกับประชาชนในเรื่อง
โครงการพั
ฒนาต่
างๆ งานวิ
จั
ยจ�
ำนวนหนึ่
งสะท้
อนปั
ญหาความขั
ดแย้
งเขื่
อนปากมูล
และราศีไศล ที่
การพั
ฒนาของรั
ฐส่งผลกระทบให้เกิ
ดความเปลี่ยนแปลงทางสังคม
วั
ฒนธรรมและเศรษฐกิ
จของประชาชนในพื้
นที่
เป้
าหมายของโครงการดั
งกล่
าว เช่
น
การเปลี่
ยนแปลงของระบบการผลิ
ตจากสั
งคมเกษตรไปสู่
การอพยพ การเคลื่
อนย้
าย