Previous Page  190 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 190 / 318 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคอีสาน

189

เกษตรแผนปั

จจุ

บั

นที่

เน้

นการปลูกพื

ชเชิ

งเดี่

ยวเพื่

อขาย เช่

น ปลูกข้

าว

อย่างเดี

ยว ปลูกอ้อยอย่างเดี

ยว ปลูกมั

นส�

ำปะหลั

งอย่างเดี

ยว ปลูกปออย่างเดี

ยว

มี

ผลกระทบต่

อสิ่

งแวดล้

อม สั

งคมเศรษฐกิ

จของชนบทอย่

างรุ

นแรง เพราะป่

าที่

มี

คุณค่ามหาศาลถูกแผ้วถางลงจนถึงขั้นวิกฤติเพื่อให้พื้นที่แก่การเกษตรกรรมราคา

ถูกและเป็

นการเกษตรที่

ต้

องน�

ำเอาสารเคมี

จ�

ำนวนมหาศาลเข้

ามาใช้

เพื่

อเร่

งผลผลิ

ให้ทันต่อการบริ

โภค ซึ่งเป็นอันตรายต่อสิ่งแวดล้อมและมนุษย์เป็นอย่างยิ่งรวมทั้ง

เป็

นการเพิ่

มรายจ่

ายให้

แก่

เกษตรกรอย่

างไม่

มี

ทางหลี

กเลี่

ยงได้

เกษตรกรต้

องท�

ำงาน

หนั

กขึ้

นแต่

ขาดทุนเป็

นหนี้

สิ

นก่

อให้

เกิดภาวะความเครี

ยด และปั

ญหาสังคมต่

างๆ

ก็

ตามมา เกษตรผสมผสานเป็

นการเกษตรที่

ปลูกพื

ชหลายชนิดรวมอยู่

ในพื้

นที่

เดียวกัน เช่น ปลูกข้าว ปลูกผัก ปลูกผลไม้ เลี้ยงหมู เลี้ยงปลา เลี้ยงเป็ด เลี้ยง

ไก่

เป็

นต้

น หากผลผลิ

ตส่

วนหนึ่

งส่

วนใดประสบปั

ญหาเนื่องจากน�้ำท่

วม ฝนแล้

โรคระบาดหรื

อราคาผลผลิ

ตตกตกต�่

ำ ผลผลิ

ตจากส่

วนอื่

นสามารถค�้

ำจุ

นให้

อยู่

รอด

โดยไม่เดือดร้อนมากนั

ก ผลประโยชน์ที่ได้จากการท�

ำการเกษตรแบบผสมผสานที่

ตามมาก็

คื

1.1 ได้

อนุ

รั

กษ์

สิ่

งแวดล้

อม เพราะมี

ต้

นไม้

ขึ้

นเป็

นจ�

ำนวนมาก มี

การสร้

าง

สมดุ

ลจากวั

ฏจั

กรของพื

ชและสั

ตว์

ที่

อยู่

ด้

วยกั

นอย่

างกลมกลื

น ไม่

ต้

องใช้

ปุ๋

ย ไม่

ต้

อง

ใช้ยาฆ่าแมลง

1.2 ได้

ภูมิ

คุ้

มกั

นทางเศรษฐกิ

จ สามารถกิ

นอิ่

ม กิ

นเหลื

อ มี

ขายไม่

เป็

นหนี้

สิ

ไม่

ได้

รั

บผลกระทบทางเศรษฐกิ

จจากการเปลี่

ยนแปลงจากภายนอก เพราะเป็

นระบบ

เศรษฐกิ

จแบบภูมิ

คุ

มกั

นเศรษฐกิ

จที่

เน้

นความเชื่

อมโยงการตลาดแบบสุ

ดขั้วท�

ำให้

คนจนได้

รั

บผลกระทบจากปั

จจั

ยภายนอกได้

ง่

าย เช่

น ราคาน�้

ำมั

น สงครามและ

นโยบายของประเทศอื่

นๆ เป็นเศรษฐกิ

จที่

ขาดภูมิคุ้มกั

1.3 ได้

พั

ฒนาจิ

ตใจ เพราะกิ

จกรรมไม่

ได้

มุ

งเน้

นท�

ำการเกษตรกรรมอย่

างเดี

ยว

แต่

เป็

นการกระท�

ำด้

วยปั

ญญาที่

เข้

าใจธรรมชาติ

ได้

รั

บความพอใจทางเศรษฐกิ

จและ

ชี

วิ

ตที่

ประสานสอดคล้องกั

บธรรมชาติ

และกั

บเพื่

อนมนุ

ษย์