Previous Page  189 / 318 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 189 / 318 Next Page
Page Background

188

โสวัฒนธรรม

แต่

ก็

ยั

งพอมี

สิ่

งที่

น่

ายิ

นดี

เกิ

ดขึ้

นอยู่

บ้

าง ในท่

ามกลางความวิ

กฤตของปั

ญหาที่

ชาวชนบทภาคตะวั

นออกเฉี

ยงเหนื

อก�

ำลั

งเผชิ

ญอยู่

นั่

นก็

คื

อในทศวรรษที่

ผ่

านมา ได้

เกิ

ดขบวนการของปั

ญญาชน และชนชั้

นกลางที่

ตื่

นตั

วออกไปท�

ำงานในชนบทมากขึ้

โดยมี

สถาบั

นการศึ

กษาในท้

องถิ่

น องค์

กรเอกชนต่

างๆ โดยเฉพาะกลุ

ม NGO

ได้เปิดโอกาสให้คนหนุ่มสาวที่มีอุดมการณ์และมีความรักห่วงใยวิถีชีวิตอันงดงาม

ของชาวอี

สานที่

ก�

ำลั

งจะสูญหายไป ได้

เข้

าไปท�

ำการศึ

กษาวิ

จั

ยด้

วยการฝั

งตั

วท�

ำงาน

เป็

นลูกหลานอยู่

กั

บชาวบ้

านใช้

ชี

วิ

ตอยู่

กั

บชุ

มชน ร่

วมกิ

จกรรมต่

างๆ ของชุ

มชน เน้

การใช้กระบวนการศึกษาวิเคราะห์ชุมชนและเข้าถึงปัญหาชุมชนด้วยกรอบวิธีการ

ทางสังคมศาสตร์ โดยเน้นการร่วมคิดวิเคราะห์แลกเปลี่ยนความรู้จากกลุ่มพูดคุย

ไปสู่การเกิ

ดกิ

จกรรม เกิ

ดผู้น�

ำกลุ่มกิ

จกรรม ซึ่

งเป็นผู้น�

ำด้านคุ

ณธรรม เสี

ยสละและ

ขยายผลไปสู่

การก่

อรูปขององค์

กรชุ

มชนที่

มี

การสร้

างเครื

อข่

ายความร่

วมมื

อให้

ขยาย

วงกว้

างขึ้

นเพื่

อก่

อให้

เกิ

ดพลั

งในการแก้

ปั

ญหาโดยน�

ำเอาวั

ฒนธรรมมาเป็

นเครื่

องมื

ส�

ำคั

ญในการพั

ฒนาอั

นจะก่

อให้

เกิ

ดการพั

ฒนาที่

มี

ความยั่

งยื

นยาวนาน ทั้

งนี้

เพราะ

ทุ

กคนในชุ

มชนมี

ส่

วนร่

วมคิ

ด ร่

วมตั

ดสิ

นใจ ร่

วมท�

ำ ร่

วมรั

บผลประโยชน์

และร่

วมรั

ผิ

ดชอบต่อสิ่

งที่

จะเกิ

ดขึ้

นตามมาด้วยความเต็

มใจ

เมื่

อปีพ.ศ.2532 องค์การสหประชาชาติ

โดยข้อเสนอขององค์การ UNESCO

ได้ประกาศ “ทศวรรษแห่งวัฒนธรรมกับการพัฒนา” โดยเล็งเห็นว่าในการพัฒนา

นั้

นถ้

าใช้

แต่

วิ

ทยาศาสตร์

เทคโนโลยี

เพี

ยงอย่

างเดี

ยวสั

งคมจะเสี

ยความสมดุ

ล จ�ำเป็

ต้องน�

ำวั

ฒนธรรมเข้ามาเป็นฐานของการพั

ฒนา

ในอดี

ตที่

ผ่านมา สถาบั

นการศึ

กษาต่

างๆ ยั

งให้ความสนใจวั

ฒนธรรมอยู่

ใน

ขอบเขตที่

จ�

ำกั

ดกล่าวคื

อ ยั

งมองวั

ฒนธรรมเป็นเรื่

องของดนตรี

การร้องร�

ำท�

ำเพลง

และศิ

ลปวั

ตถุ

เท่

านั้น มองไปไม่

ถึ

งภูมิ

ปั

ญญาแห่

งชาติ

หรื

อภูมิ

ปั

ญญาท้

องถิ่

นที่

สั

มพั

นธ์กั

บชี

วิ

ต สั

งคมและสิ่

งแวดล้อมหรื

อวิ

ถี

ชี

วิ

ตทั้

งมวลของคนไทย ซึ่

งบรรพชน

ได้มอบให้เป็นมรดกที่

ล�้

ำค่าในด้านต่างๆ แก่ชาวไทยทุ

กคน เช่น วั

ฒนธรรมในการ

ท�

ำมาหากิ

น วั

ฒนธรรมในการรั

กษาสิ่

งแวดล้

อม วั

ฒนธรรมทางการแพทย์

และ

สาธารณสุ

ข เป็

นต้

น ตั

วอย่

างบางประการของการน�

ำเอาวั

ฒนธรรมมาใช้

ในการ

พั

ฒนาได้อย่างเหมาะสมได้แก่