172
โสวัฒนธรรม
ครรชิต จุประพัทธศรี (2545) เงื่อนไขและปัจจัยด้านวัฒนธรรมความเชื่อต่อการจัดการ
ป่าชุมชนในหมู่บ้านอีสาน : กรณีศึกษาเปรียบเทียบระหว่าง 2 หมู่บ้านในจังหวัดสกลนคร
วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล
จงดี ภิรมย์ไชยและจีระวัฒน์ พืชสี (2545) ผึ้งกับสุขภาพ อีกหนึ่งภูมิปัญญาชาวบ้านสู่การพึ่งพา
ตนเอง
วารสารสาธารณสุขขอนแก่น
14(158): 30-31
จตุพร ไชยทองศรี (2544) การศึกษาเปรียบเทียบความเชื่อผีปู่ตาภาคอีสานและความเชื่อ
ผีตายายภาคใต้ วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง
จรัญญา วงษ์พรหม (2541)
ผู้หญิงอีสาน : ทางเลือก ศักยภาพและแนวทางการพัฒนา
: รวม
บทความและบทวิเคราะห์ประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับผู้หญิง ขอนแก่น : สถาบันวิจัยและ
พัฒนา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
จรัญญา วงศ์พรหม (2542) แรงงานสตรีอีสาน การรับช่วงการผลิตของอุตสาหกรรม ดอกไม้ประดิษฐ์
วารสารข่าววิจัยและพัฒนา
11(6): 4-5
จรัสเรือง ศิริวัฒนรัตน์ (2542) การพัฒนาแบบพึ่งตนเองกับการพัฒนาเชิงพุทธ กรณีศึกษา
ศรีษะอโศก วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (รัฐศาสตร์) มหาวิทยาลัยรามค�ำแหง
จารุวรรณ ธรรมวัตร (2540) การเฝ้าไข้อีสาน อีกรูปแบบของวัฒนธรรมที่โรงพยาบาล ควรเอาใจใส่
วารสารสื่ออีสาน
1-31 มีนาคม 2540: 5
จ�ำเนียร พันทวี (2540) พิธีกรรมสะเดาะเคราะห์ของชาวบ้านหมูม้น วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหา
บัณฑิต (สาขาไทยคดีศึกษา) บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จิรพร ศรีบุญลือ (2546) การศึกษา “ผญา” สื่อประเพณี:การสืบทอดและการสะท้อนอัตลักษณ์
ของชุมชนคนอีสาน วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต (การบริหารสื่อมวลชน) คณะ
วารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
จิตกร เอมพันธ์ (2545) พญานาค เจ้าแห่งแม่น�้ำโขง : พิธีกรรมกับระบบความเชื่อพื้นบ้านแห่ง
วัฒนธรรมอีสาน วิทยานิพนธ์ (มน.ม.) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
จีรวรรณ หัสโรค (2542) วัฒนธรรมกับการบริโภคอาหารในฮีตสิบสองของชาวอีสาน
วารสาร
สาธารณสุขมูลฐาน
ภาคอีสาน 14(1): 44-46
จุลพงษ์ พันธุ์สมบัติ (2541)
สมุนไพรกับวิถีชีวิตของชาวบ้านเชือก
ต. เขวา อ.เมือง จ.มหาสารคาม
มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
จุรีรัตน์ ผลดี (2544)
การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมการหาปลาของชุมชนลุ่มน�้ำมูลตอนปลาย
ภายหลังการสร้างเขื่อนปากมูล
กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยมหิดล
ใจสะคราญ หิรัญพฤกษ์ (2540)
กลยุทธ์ในการเสริมสร้างความเสมอภาคของบทบาทหญิง
ชายในการพัฒนาท้องถิ่นทุรกันดารอีสานใต้
กรุงเทพฯ : สถาบันวิจัยและพัฒนาแห่ง
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์