60
สืบโยดสาวย่าน
นครศรี
ธรรมราช (สุ
ทธาทร พูลสวั
สดิ์
, 2539) งานชิ้
นแรกได้เก็
บรวบรวมนิ
ทาน แล้ว
จั
ดแบ่
งเป็
นประเภท ต่
อจากนั้
นได้
วิ
เคราะห์
โลกทั
ศน์
ความสั
มพั
นธ์
ระหว่
างมนุ
ษย์
กั
บ
มนุ
ษย์ มนุ
ษย์กั
บธรรมชาติ
และมนุ
ษย์กั
บสิ่
งเหนื
อธรรมชาติ
และตี
ความจากการ
วิเคราะห์ดังกล่าว สรุปว่
าชาวบ้
านต�
ำบลล�
ำป�ำด�ำเนิ
นชีวิตที่เรียบง่าย มี
คุ
ณธรรม
รักอิสระเคารพในสิทธิเสรี มีจิตใจโอบอ้อมอารีต่อบุคคลอื่น ซาบซึ้งในคุณค่าของ
ธรรมชาติ มีความเชื่อเกี่ยวกับไสยศาสตร์ วิญญาณ และคติทางศาสนา งานชิ้น
ที่สองซึ่
งศึกษาที่
ต�ำบลทุ่
งหวัง อ�ำเภอเมื
อง จั
งหวั
ดสงขลา มุ่
งศึกษาวั
ฒนธรรมที่
ปรากฏในนิ
ทานชาวบ้
านได้
ข้
อสรุ
ปว่
า ชาวบ้
านใช้
สาระจากนิ
ทานเป็
นแนวทางในการ
ด�
ำเนิ
นชี
วิ
ต เช่น เรื่
องความกล้า การรู้จั
กกาลเทศะ ความอดทน ความภั
กดี
การไม่
เห็
นแก่
ตั
ว ฯลฯ ส่
วนงานชิ้
นที่
สามซึ่
งศึ
กษาที่
ต�
ำบลโมคลาน อ�
ำเภอท่
าศาลา จั
งหวั
ด
นครศรี
ธรรมราช เป็นงานศึ
กษานิ
ทานของชาวไทยมุ
สลิ
ม โดยรวบรวมแล้วจั
ดแบ่ง
เป็นประเภท ต่อจากนั้
นมีการวิเคราะห์และสรุปว่า นิ
ทานดังกล่าวมีสาระเกี่ยวกับ
ปัจเจกบุคคล ครอบครัว และสถาบันสังคม ซึ่งมีคุณค่าต่อชาวบ้าน ในการสร้าง
ความบั
นเทิ
ง ส่งเสริ
มปัญญาและจิ
นตนาการ ให้คติ
ธรรม สร้างความสั
มพั
นธ์ และ
ให้การศึ
กษาเกี่
ยวกั
บสั
งคมและวั
ฒนธรรม
ส�
ำหรั
บงานวิ
ทยานิ
พนธ์
ซึ่
งศึ
กษาเจาะลึ
กเรื่
อง โลกทั
ศน์
ชาวไทยภาคใต้
ที่
ปรากฏในเพลงลุ
กทุ่งภาคใต้ระหว่างปี พ.ศ.2530 - 2540 (จิ
ราภา จั
นทร์เส็
ง, 2544)
ศึ
กษาภาพสะท้
อนทางสั
งคมและวั
ฒนธรรมที่
ปรากฏ ในเพลงลุ
กทุ
่
งที่
เอกชั
ย ศรี
วิ
ชั
ย
ขั
บร้
อง (อั
มพร จิ
ตรั
กษา, 2543) และศึ
กษาการเปลี่
ยนแปลงทางสั
งคมและวั
ฒนธรรม
ของชนบทภาคใต้
ที่
ปรากฏในเรื่
องสั้
นของนั
กเขี
ยนกลุ
่
มนาคร (จรูญ หยูทอง,
2542) งานชิ้
นแรก วิ
เคราะห์
โลกทั
ศน์
จากกรอบความสั
มพั
นธ์
มนุ
ษย์
ชาวไทยภาคใต้
ด้วยกัน ความสัมพันธ์กับธรรมชาติ และความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งเหนือ
ธรรมชาติ
พบว่
า ชาวภาคใต้
ยั
งคงมี
ความสั
มพั
นธ์
ต่
อกั
นในหลายแบบ คื
อ ยกย่
องผู้
อาวุ
โส ผู้
มี
อาชี
พสุ
จริ
ตและผู้
มี
ฐานะเศรษฐกิ
จดี
ต�
ำหนิ
ผู้
วางตั
วไม่
เหมาะสม รั
งเกี
ยจ
อาชีพที่เสื่อมเสียชื่อเสียง ยึดมั่นในขนบธรรมเนียมประเพณี รักพวกพ้อง มีความ
ผูกพั
นกั
บธรรมชาติ
มี
ความซาบซึ้
งในคุ
ณค่
าของธรรมชาติ
มี
ความเชื่
อเกี่
ยวกั
บ