Previous Page  58 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 58 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

57

ด้านภูมิ

ปัญญา สาระส�ำคั

ญที่

กล่าวถึ

ง พบว่า กระบวนการเกิ

ดภูมิ

ปัญญา

เกิ

ดจากทุ

นทรั

พย์ที่

เป็นทรั

พยากรธรรมชาติ

ทรั

พยากรทางวั

ฒนธรรม และเกิ

ดการ

หลอมรวมโดยผนวกเข้ากับความเปลี่ยนแปลง เกิดเป็นองค์ความรู้หรือภูมิปัญญา

ใหม่

ที่

เป็

นทางเลื

อกในปั

จจุ

บั

น ภูมิ

ปั

ญญาใหม่

ของชุ

มชนจึ

งเป็

นวั

ฒนธรรมชาว

บ้

านที่

ตกผลึ

กเป็

นศาสตร์

ชาวบ้

าน ซึ่

งใช้

ประโยชน์

อยู่

ในชุ

มชน อย่

างไรก็

ตาม

การเกิ

ดของภูมิ

ปั

ญญายั

งเกี่

ยวข้

องอยู่

กั

บพหูสูต และภูมิ

ปั

ญญาของผู้

แต่

งเป็

ประการส�

ำคัญด้

วย ด้านความหลากหลายของภูมิปั

ญญา พบว่

า มีสาระส�

ำคัญ

คือ ภูมิปัญญาว่าด้วยการอนุรักษ์และส่งเสริมการสร้างหนั

งสือบุด การใฝ่เรียนใฝ่

รู้และเชิ

ดชูนั

กปราชญ์ การคบ คนและการทั

นโลกทั

นคน การวางตั

วและครองตน

การตระหนั

กค่าธรรมชาติ สุขวิทยา การจัดการ การปลูกฝัง คารวธรรมและการ

ยึ

ดมั่

นในขนบประเพณี

การพึ่

งตนเองและพึ่

งพาผู้อื่

น และการเคี่

ยวเข็

ญให้เข้มแข็

ด้

านคุณค่

าของวรรณกรรมทั

กษิ

ณพบว่

า มี

คุ

ณค่

าอย่

างยิ่งด้

านคติชนวิทยา ด้

าน

ประวั

ติ

ศาสตร์

และโบราณคดี

ด้

านอรรถรสและสุ

นทรี

ยรส และด้

านการท้

วงติ

ง การ

ชี้ทางและการสร้

างจิตส�

ำนึ

ก คุณค่

าดังกล่

าวแสดงถึงความเป็

นท้

องถิ่นและความ

เป็นชาวบ้านภาคใต้

ซึ่งเห็นได้ชัดในวรรณกรรมแทบทุกเรื่อง อาทิ บัญชีสิ่งของที่

ชาวบ้านเมืองสงขลาท�

ำขึ้นที่จัดส่งไปกรุงเทพฯ ในสมัยรัชกาลที่ 5 สุบินค�

ำกาพย์

นายดั

นค�

ำกาพย์

ป้องครกค�

ำกาพย์ วรวงศ์ค�

ำกาพย์ สุ

ภาษิ

ตค�

ำกาพย์

พระปรมั

ตถ์

ค�

ำกาพย์

พระรถ เมรี

ค�ำกลอน อุ

เทนค�

ำฉั

นท์ มหาราชค�

ำฉั

นท์ ภาษิ

ตลุ

งสอนหลาน

ค�

ำกาพย์ เป็นต้น

ผลการศึ

กษาวิ

จั

ยเรื่

องภูมิ

ปัญญาทั

กษิ

ณจากวรรณกรรมท้องถิ่

น ซึ่

งจ�

ำแนก

เป็น 3 โครง การย่อยที่กล่าวมาแล้ว เป็นความพยายามของคณะผู้วิจัย จ�

ำนวน

40 คน ที่

ร่

วมกั

นศึ

กษา เพื่

อประมวลองค์

ความรู้

เกี่

ยวกั

บวรรณกรรมทั

กษิ

ณให้

สมบูรณ์

ที่

สุ

ด ด้

วยเหตุ

ผลที่

ว่

าสรรพวิ

ทยาการต่

างๆ ที่

บรรพบุ

รุ

ษสั่

งสมโดยถ่

ายทอด

เป็นหนั

งสื

อบุ

ดอย่างเอนกอนั

นต์นั้

น ล้วนมี

คุ

ณค่าอย่างยิ่

งต่อภาคใต้และสั

งคมไทย

เนื้

อหาสาระของวรรณกรรมจากการศึ

กษาแม้จะครอบคลุ

มอย่างกว้างขวางโดยน�

มาจากข้อมูลต่างๆ คื

อ จารึ

ก ประวั

ติ

ศาสตร์

พงศาวดาร ต�

ำนาน บั

นทึ

กเหตุ

การณ์