Previous Page  57 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 57 / 326 Next Page
Page Background

56

สืบโยดสาวย่าน

ทั

กษิ

ณ : วรรณกรรมคั

ดสรร จั

ดเป็นองค์ความรู้ 4 หน่วย คื

อ นิ

ยามและขอบข่าย

อั

ตลั

กษณ์

และพลวั

ตวรรณกรรมทั

กษิ

ณ ภูมิ

ปั

ญญาในวรรณกรรมทั

กษิ

ณ และคุ

ณค่

ของวรรณกรรมทั

กษิ

ณ (สุ

ธิ

วงศ์

พงศ์

ไพบูลย์

และชวน เพชรแก้

ว, 2547) ในส่

วนของ

นิ

ยามและขอบข่

ายกล่

าวถึ

งความหมายของวรรณกรรมพื้

นบ้

านภาคใต้

สิ่

งส�

ำแดงถึ

ความเป็

นวรรณกรรมพื้

นบ้

าน โดยการพิ

นิ

จจากองค์

ประกอบหลั

ก ได้

แก่

ฉั

นทลั

กษณ์

การบั

งคั

บสั

มผั

สและการยื

ดหยุ่น การใช้ ค�ำเฉพาะถิ่

น การใช้ค�

ำแบบเสรี

นิ

ยม รูป

แบบการไหว้

ครูหรื

อประณามบท และการพิ

นิ

จวรรณกรรมพื้

นบ้

านจากองค์

ประกอบ

เสริ

ม ได้แก่ ภาพสะท้อนทางกายภาพ ภาพสะท้อนวิ

ถี

คิ

ดแบบชาวบ้าน และภาพ

สะท้อนบุ

คลิ

กภาพพื้

นบ้านอั

นเป็นจารี

ตนิ

ยมชุ

มชนหรื

อวั

ฒนธรรมพื้

นบ้าน ในส่วน

ของอั

ตลั

กษณ์

และพลวั

ตวรรณกรรมทั

กษิ

ณ กล่

าวถึ

งวั

ฒนธรรมการสร้

างวรรณกรรม

ในภาคใต้ โดยพิจารณาวัตถุประสงค์ในการสร้างว่าเป็นไปเพื่อเป็นพุทธบูชา เป็น

วิ

ทยาทาน และให้กุ

ลบุ

ตรธิ

ดาได้สวดอ่านศึ

กษา ส�

ำหรั

บผู้แต่ง กล่าวว่าเป็นผู้แต่ง

นิ

รนามโดยเฉพาะวรรณกรรมรุ

นเก่

า แต่

ครั้

นถึ

งสมั

ยรั

ชกาลที่

6 ซึ่

งเป็

นยุ

คที่

การ

พิ

มพ์แพร่หลาย ผู้แต่งปรากฏชื่

อชั

ดเจนขึ้

น คื

อ กลุ่มชนชั้

นผู้น�

ำหรื

อเจ้านาย กลุ่ม

พระสงฆ์

กลุ่

มข้

าราชการ และกลุ่

มปั

ญญาชน ส�

ำหรั

บรูปแบบของหนั

งสื

อแต่

เดิ

มใช้

หนั

งสือบุด หรือสมุดข่อยบันทึก ส่วนการใช้ตัวอักษรในหนั

งสือบุดมีทั้งอักษรขอม

และอั

กษรไทย การจารด้วยอั

กษรขอมมี

ทั้

งใช้

ภาษาบาลี

และภาษาไทย อั

กษรไทย

มี

ทั้

งรูปอั

กษรแบบอาลั

กษณ์ และอั

กษรไทยย่อ ค�

ำประพั

นธ์ส่วนใหญ่แต่งด้วยร้อย

กรอง ได้แก่ กาพย์ยานี กาพย์ฉบัง และกาพย์สุรางคนางค์ ร้อยกรองอื่นๆ มีแต่

น้อย คื

อ กลอน โคลง ร่าย และฉั

นท์ มี

กลอนพื้

นบ้านอยู่บ้าง เช่น กลอนเพลงบอก

กลอนสี่

กลอนหก กลอนสามห้

า ส่

วนเรื่

องที่

น�

ำมาเขี

ยนมี

ทั้

งประวั

ติ

ศาสตร์

กฎหมาย

ต�

ำรายา ศาสนา นิ

ทาน สุ

ภาษิ

ต ฯลฯ ที่

แต่

งด้

วยร้

อยแก้

ว ได้

แก่

ต�ำราดูลั

กษณะคน

ลั

กษณะสั

ตว์

ต�

ำราพิ

ชั

ยสงคราม ต�

ำราเรี

ยน เป็

นต้

น ด้

านสารั

ตถะในวรรณกรรมพบ

ว่ามาจากหลายแหล่ง คื

อ ความคิ

ดและคติ

นิ

ยม ที่

เกิ

ดขึ้

นในท้องถิ่

นเอง แนวความ

คิ

ดและคติ

นิ

ยมอั

นเป็

นจารี

ตที่

มาจากฮิ

นดู แนวความคิ

ดและคติ

นิ

ยม ที่

ผ่

องถ่

ายมา

จากคติ

ทางพุ

ทธศาสนา และแนวความคิ

ดและคติ

นิ

ยมที่

ได้

รั

บอิ

ทธิ

พลจากราชธานี