Previous Page  54 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 54 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

53

ภูมิ

ปั

ญญาเดิ

มที่

มี

อยู่

ในท้

องถิ่

นเป็

นปั

จจั

ยต้

นทุ

นเชื่

อมโยงกั

บปั

จจั

ยใหม่

อย่

างสมดุ

ปั

จจั

ยต้

นทุ

น คื

อ ทรั

พยากรธรรมชาติ

และสภาพแวดล้

อมทางกายภาพและจารี

ตนิ

ยม

หรื

อทุ

นทางวั

ฒนธรรมของท้

องถิ่

น ปั

จจั

ยเสริ

มได้

แก่

ประโยชน์

ใช้

สอยที่

ประชาคมพึ

ได้และขีดความเจริญทางการศึกษาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของสังคม ปัจจัย

เหล่

านี้

เป็

นฐานส�

ำคั

ญให้

แก่

ผู้

สร้

างวรรณกรรมโดยที่

ใช้

สร้

างภูมิ

ปั

ญญาในวรรณกรรม

ขึ้

นมา เช่

น วรรณกรรมเรื่

องเต่

าทองกล่

าวถึ

งพั

นธุ

ปลาอย่

างพิ

สดาร มหาพนค�

ำกาพย์

กล่

าวถึ

งภูมิ

ปั

ญญาของผู้

รจนาเกี่

ยวกั

บว่

านชนิ

ดต่

างๆ อย่

างพิ

สดาร พระมหาชาดก

ค�ำกาพย์

กล่

าวถึง เครื่องหอม เครื่องเทศ และสมุนไพรอย่

างพิสดาร วันคารค�

กาพย์

กล่

าวถึ

งธรรมชาติ

ของนก ด้

วยการบรรยายถึ

งอย่

างมี

ชี

วิ

ตชี

วา วรรณกรรมเรื่

อง

ป้

องครก กล่

าวถึ

งสภาพการค้

าขายต่

างเมื

อง และพระปรมั

ตถ์

ค�

ำกาพย์

กล่

าวเปรี

ยบ

เที

ยบระหว่างส�

ำเภาค้าขายกั

บส�

ำเภาธรรม โองการพญากรูด กล่าวถึ

ง ภูมิ

ปัญญา

ของหมอผู้

ประกอบพิ

ธี

กรรมที่

ใช้

อุ

บายน�

ำเอาลั

ทธิ

เทวนิ

ยม พุ

ทธานุ

ภาพนิ

ยม

และธรรมชาติ

นิ

ยมมาประสมประสาน เป็

นต้

น ในส่

วนที่

เกี่

ยวกั

บภูมิ

ปั

ญญาดั

งกล่

าวนี้

ยั

งพบว่

าแม่

แบบแห่

ง ภูมิ

ปั

ญญาที่

ปรากฏในวรรณกรรมทั

กษิ

ณเกิ

ดจากความ

เป็นพหูสูตของผู้รจนา มรดกของสังคมหรือธรรมชาติ และเกิดจากความสามารถ

เฉพาะตั

ว นอกจากนี้

ยั

งได้

พบว่

าภูมิ

ปั

ญญาในวรรณกรรมทั

กษิ

ณกั

บวิ

ถี

และพลั

ชุ

มชนมี

ส่วนเกี่

ยวข้

องกันอย่างยิ่ง คือ ภูมิปั

ญญาในวรรณกรรมทั

กษิ

ณ เป็

นสิ่

งที่

ก่อให้เกิ

ดพลั

งชุ

มชนได้เช่น โองการพระพรแสดงถึ

งวิ

ถี

และพลั

งของหมอผู้ประกอบ

พิ

ธี

กรรมทางไสยศาสตร์

และแสดงถึ

งอุ

บายการน�

ำเอาคติ

ความเชื่

ออั

นเนื่

องด้

วยพุ

ทธ

ศาสนาผนวกกั

บความเชื่

อตามคติ

พราหมณ์

มาสร้

างเป็

นมายาคติ

เพื่

อขยายพื้

นที่

และบทบาทให้แก่ตนเอง โองการพรหมบังเกิดมีวิธีการสร้างอ�

ำนาจหลายวิธี โดย

อาศัยเทพเจ้าในศาสนาพราหมณ์ ความเชื่อเรืองผีและพระรัตนตรัย พระอภิธรรม

เจ็

ดคั

มภี

ร์ เป็นต้น

ด้

าน

วรรณกรรมทักษิณ : วรรณกรรมคัดสรร

เป็

นการศึ

กษาวิ

จั

ยที่

ต่

อเนื่

องจากวรรณกรรมทั

กษิ

ณ : วรรณกรรมปริ

ทั

ศน์

ด้

วยการคั

ดสรรมาจาก

ต้

นฉบั

บวรรณกรรมทั

กษิ

ณจ�

ำนวน 435 เรื่

อง เหลื

อเพี

ยง 84 เรื่

อง แล้

วด�

ำเนิ

การปริ

วรรต ท�

ำเชิ

งอรรถ และสั

งเคราะห์

จัดกลุ่

มวรรณกรรมโดยค�

ำนึ

งถึงเนื้

อหา