262
สืบโยดสาวย่าน
มี
คุ
ณค่
าอย่
างยิ่
งต่
อการด�ำรงอยู่
ร่
วมกั
นในสั
งคมและการที่
สั
งคมมี
ความสั
มพั
นธ์
กั
บ
ภายนอก ในประเทศไทยงานศึกษาค้นคว้าวิจัยทางวัฒนธรรมภายใต้บทบาทของ
ส�ำนั
กงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติแม้จะด�ำเนิ
นงานเรื่องนี้อย่างจริงจังมา
เพี
ยงประมาณ 2 ทศวรรษ คื
อ หน่วยงานนี้
ได้ก�ำหนดกรอบและทิ
ศทางการด�ำเนิ
น
งานวั
ฒนธรรมแห่งชาติ
(พ.ศ.2535 - 2539) ไว้ชั
ดเจนว่าให้มี
การศึ
กษาค้นคว้าวิ
จั
ย
ภูมิ
ปั
ญญาชาวบ้
านอั
นเป็
นรากฐานการด�
ำเนิ
นชี
วิ
ตให้
ประชาชนเห็
นคุ
ณค่
า ยอมรั
บ
และน�
ำไปใช้
ให้
เหมาะสมและแพร่
หลาย (ส�
ำนั
กงานคณะกรรมการวั
ฒนธรรม
แห่
งชาติ
, 2533) แต่
นั้
นมาได้
มี
งานวิ
จั
ยเกิ
ดขึ้
นมากมาย แพร่
หลายเป็
นที่
ประจั
กษ์
ทั่
วไป
ในส่
วนของภาคใต้
มี
งานรวบรวมศึ
กษาค้
นคว้
าวิ
จั
ยเกี่
ยวกั
บวั
ฒนธรรมภาคใต้
ปรากฏ
ในโครงการ การศึ
กษาและพั
ฒนางานวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมภาคใต้
ระหว่
างปี
พ.ศ.2520-2549
ซึ่
งจั
ดท�
ำเป็
นบรรณานุ
กรม และบรรณนิ
ทั
ศน์
จ�
ำนวนไม่
น้
อยกว่
า 1,000 ชื่
อเรื่
อง (ชวน
เพชรแก้
ว, 2549) ส�
ำหรั
บงานในส่
วนของศิ
ลปวั
ฒนธรรม มี
จ�
ำนวนไม่
น้
อยกว่
า 100 เรื่
อง
งานวิจัยดังกล่าวแม้จะเกิดประโยชน์ในด้านองค์ความรู้ทางวัฒนธรรมของภาคใต้
และก่
อให้
เกิ
ดความรู้
ความเข้
าใจเกี่
ยวกั
บปั
ญหาต่
างๆ กว้
างขวางมากขึ้
น แต่
ยั
งเป็
น
ความรู้
ที่
กระจั
ดกระจายท�
ำให้
ยากต่
อการพั
ฒนางานศึ
กษาวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมและยาก
ต่อการน�
ำมาใช้ให้เกิ
ดประโยชน์ได้อย่างแท้จริ
ง
บทความนี้ เป็นการรวบรวมและประมวลงานวิจัยด้านศิลปวัฒนธรรมของ
ภาคใต้
น�
ำเสนอผลการสั
งเคราะห์
องค์
ความรู้
วั
ฒนธรรมภาคใต้
ด้
านเนื้
อหา วิ
ธี
วิ
ทยา
และประเมินสถานภาพองค์ความรู้ ผลการศึกษาดังกล่าวจะเกิดประโยชน์ต่อการ
ใช้เป็นพื้
นฐานให้เห็
นกรอบทิ
ศทางในการวิ
จั
ย และเพื่
อใช้พั
ฒนางานวิ
จั
ยรวมทั้
งใช้
ประโยชน์อื่
นๆ ในอนาคต
การศึ
กษาครั้
งนี้
ใช้
กรอบคิ
ดว่
า วั
ฒนธรรมในมุ
มมองของศิ
ลปวั
ฒนธรรม คื
อ
มรดกทางภูมิ
ปั
ญญาที่
เป็
นภาพนิ่
ง มุ่
งเน้
นหรื
อให้
ความส�
ำคั
ญที่
รูปแบบ สั
ญลั
กษณ์
โดยยอมรั
บว่าเป็นสิ่
งดี
งามของชาติ
บ้านเมื
องและแผ่นดิ
นที่
ต้องท�
ำการอนุ
รั
กษ์ เช่น
ประเพณี
ลอยกระทง วั
ดวาอาราม ปราสาทราชวั
ง อาคารบ้านเรื
อน โบราณสถาน
โบราณวั
ตถุ
ภาษา และการแต่งกาย (ศรี
ศั
กร วั
ลลิ
โภดม, 2544)