230
สืบโยดสาวย่าน
ขึ้น
การศึกษาอุตสาหกรรมการท่
องเที่
ยวของเมือง สุไหงโกลก จั
งหวัดนราธิวาส
(จุรี อินทจันทร, 2546) งานชิ้นนี้ศึกษาสถานภาพของแหล่งท่
องเที่ยว ปั
จจัยที่ส่ง
ผลต่
อการพั
ฒนาแหล่
งท่
องเที่
ยว และผลกระทบจากการพั
ฒนาแหล่
งท่
องเที่
ยว
ผลการศึ
กษาพบว่
า แหล่
งท่
องเที่
ยวมี
ธรรมชาติ
ที่
สวยงาม อากาศเย็
นสบาย มี
พรรณ
พื
ชนานาชนิ
ด มี
การบริ
การสิ่
งอ�
ำนวยความสะดวกที่
ครบครั
น ส่
วนปั
จจั
ยที่
ส่
งผลต่
อ
การพั
ฒนาแหล่
งท่
องเที่
ยว ได้
แก่
การมี
สภาพพื้
นที่
ที่
เหมาะสม และการส่
งเสริ
มจาก
รั
ฐ ส�
ำหรั
บผลกระทบจากการพั
ฒนา ได้
แก่
เกิ
ดการขยายตั
วทางเศรษฐกิ
จ ค่
าครอง
ชี
พสูงขึ้
น วั
ฒนธรรมเสื่
อมถอย และสิ่
งแวดล้อมเสื่
อมโทรม
ในส่
วนงานบทความมี
จ�
ำนวน 8 เรื่
อง เก็
บข้
อมูลด้
วยการศึ
กษาเอกสาร
และการสัมภาษณ์ผู้เกี่ยวข้อง เน้นการศึกษาเชิงพื้นที่หรือบริบทพื้นที่ในฐานะฐาน
คิดส�ำคัญของพัฒนา งานกลุ่มนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับการศึกษาการเปลี่ยนแปลงและ
ผลกระทบจากการสูญเสี
ยทรั
พยากรและศึ
กษาการจั
ดการทรั
พยากร งานกลุ่มแรก
มีจ�ำนวน 3 เรื่อง ได้แก่
ทะเลเปลี่ยนไป ชุมชนเปลี่ยนแปลง : การเปลี่ยนแปลง
ของสภาพแวดล้อมและผลกระทบต่อชุ
มชนรอบทะเลสาบสงขลา
(อั
มพร แก้วหนู,
2535 – 2536) บทความนี้
กล่
าวถึ
ง การเปลี่
ยนแปลงของชุ
มชนรอบทะเลสาบสงขลา
ในรอบ 30 ปี ซึ่
งเคยมี
ทรั
พยากรธรรมชาติ
ที่
อุ
ดมสมบูรณ์ ต่อมาเมื่
อชุ
มชนขยายตั
ว
มากขึ้น สภาพแวดล้อมจึงถูกท�ำลาย เนื่องจากมีการตั้งโรงงานอุตสาหกรรมและ
ชุ
มชนเมื
องปล่
อยน�้
ำเสี
ยลงสู่
ทะเลสาบ ภายหลั
งมี
เรื
ออวนรุ
นเข้
ามาท�
ำประมงท�
ำให้
ชาวประมงพื้นบ้านจับปลาได้น้อยลง นอกจากนี้มีการเพาะเลี้ยงกุ้งกุลาด�ำบริเวณ
พื้
นที่
รอบทะเลสาบสงขลา ส่
งผลกระทบต่
อการท�
ำนาข้
าว เนื่
องจากขาดแคลนน�้
ำจื
ด
ชาวบ้
านจึ
งย้
ายถิ่
นฐานออกจากชุ
มชนไปเป็
นกรรมกรในเมื
องและขายแรงงานที่
กรุงเทพฯ การเคลื่อนตัวของชุมชนในลักษณะดังกล่าวอยู่
ในลักษณะระส�่
ำระส่
าย
หนั
กขึ้
นเมื่
อมี
การแพร่
กระจายของยาเสพติ
ด และค่
านิ
ยมการบริ
โภคที่
เปลี่
ยนแปลง
ไปสู่
ความเป็
นวั
ตถุ
นิ
ยม อนาคตของชุ
มชนจึ
งมื
ดมน
การพั
งทลายและการฟื
้
นฟูระบบ
นิเวศน์ชายฝั่งทะเล : กรณี
จังหวัดตรัง
(สมาคมหยาดฝน, 2537) บทความเรื่องนี้
กล่าวถึ
งระบบนิ
เวศน์ชายฝั่งทะเลตรั
งที่
เคยอุ
ดมสมบูรณ์ ในช่วง 2 ทศวรรษที่
ผ่าน