Previous Page  226 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 226 / 326 Next Page
Page Background

งานวิจัยวัฒนธรรมภาคใต้

225

4 ลักษณะ คือ การท�ำไร่นาสวนผสมขนาดเล็กบนที่ราบ ท�

ำไร่นาสวนผสมขนาด

ใหญ่

บนที่

ราบ การท�

ำไร่

นาสวนผสมบนที่

ราบระหว่

างสั

นทราย และการท�

ำไร่

นาสวนผสมบนพื้

นที่

สั

นทราย พบว่

า การท�

ำไร่

นาสวนผสมบนพื้

นที่

สั

นทราย

มี

ความยั่

งยื

นต�่

ำสุ

ด ส่

วนการท�

ำไร่

นาสวนผสมลั

กษณะอื่

นๆ มี

ความยั่

งยื

นใน

ระดั

บปานกลาง

และการจั

ดการระบบวนเกษตรในที่

ราบลุ

มแม่

น�้

ำปากพนั

(นฤมล พฤกษา, 2539) งานชิ้

นนี้กล่

าวถึ

ง การจั

ดการระบบวนเกษตรบริ

เวณ

ราบลุ

มแม่

น�้

ำปากพนั

งที่

ใช้

แรงงานในครั

วเรื

อน วิ

ธี

ที่

ง่

าย ไม่

ยุ

งยาก ลงทุ

นน้

อย

และใช้

สารเคมี

น้

อยที่

สุ

ด ผลที่

เกิ

ดจากการจั

ดระบบในแง่

นิ

เวศวิ

ทยา พบว่

มี

พื

ช 118 ชนิ

ด 56 วงศ์

ขึ้

นทั้

งในที่

ดอน ที่

ลุ

มและที่

สั

นทราย รูปแบบการการ

กระจายตั

วของพื

ชเป็

นไปอย่

างสม�่

ำเสมอ การจั

ดวนเกษตรที่

ดี

ท�

ำให้

เกษตรกร

มี

รายได้

สม�่

ำเสมอ และไม่

มี

หนี้

สิ

น ส�

ำหรั

บงานที่

ใช้

วิ

ธี

วิ

วิ

ทยาเชิ

งคุ

ณภาพมี

4 เรื่

อง ได้

แก่

การเปรี

ยบเที

ยบวั

ฒนธรรมการท�ำสวนพลูปากหรามกั

บพลูวั

งโหล

จั

งหวั

ดนครศรีธรรมราช

(โสพิ

ศ โพธิ

สุ

วรรณ, 2543) งานชิ้

นนี้

ศึ

กษาการเปรี

ยบเที

ยบ

การท�

ำสวนพลู 2 แหล่ง คื

อ สวนพลูบ้านปากหราม กั

บบ้านวั

งโหล พบว่า มี

ความ

แตกต่างกั

นในเรื่

องระยะเวลาการปลูก การทอนค้างพลู แนวคิ

ดในการพั

ฒนาการ

ท�

ำสวนพลู การใช้แรงงานในการเก็

บผลผลิ

ต อุ

ปกรณ์ในการเก็

บพลู และการเลื

อก

ปุ๋ย สวนพลูวังโหลให้ผลิตพลูที่มีคุณภาพและขายได้ราคาสูงกว่าสวนพลูปากหรา

ม มีแนวโน้มขยายพื้นที่ปลูกมากขึ้น ต่างจากพลูปากหรามที่มีแนวโน้มการขยาย

พื้

นที่

ปลูกลดลง

การศึ

กษาความเชื่

อเกี่

ยวกั

บพื

ชที่

ใช้

เป็

นอาหารและยาของชาวบ้

าน

อ�

ำเภอสทิงพระ จั

งหวั

ดสงขลา

(เกษวริ

นทร์ ไชยแก้ว, 2541) งานชิ้

นนี้

ศึ

กษาความ

เชี่

ยวกั

บพื

ชพื้

นบ้

านของชาวบ้

านอ�

ำเภอสทิ

งพระ ที่

เชื่

อกั

นว่

าพื

ชเป็

นทั้

งอาหารและยา

เมื่อรับประทานไปแล้วจะช่วยบ�

ำรุงร่างกายให้แข็งแรง โดยเฉพาะผู้ป่วย และสตรี

มี

ครรภ์ ส่วนของพื

ชบางชนิ

ดใช้รั

กษาโรคได้ เช่น รากกล้วยเถื่

อนรั

กษาไข้มาเลเรี

ถั่วเขียวต้มน�้

ำตาลช่วยรักษาโรคเหน็บชา เป็นต้น การ

ศึกษาการเลี้ยงหอยนางรม

ของชาวบ้าน อ�

ำเภอกาญจนดิ

ษฐ์ จั

งหวั

ดสุ

ราษฎร์ธานี

(ศรัณย์ วรานนท์ชุ

ติ

, 2544)

งานชิ้

นนี้

ศึ

กษาสภาพปั

ญหาในการเลี้

ยงหอยนางรมในกาญจนดิ

ษฐ์

พบว่

า ประสบ

ด้

านการผลิ

ตและการตลาด ในการผลิ

ตผู้

เลี้

ยง การขาดพั

นธุ

หอยนางรมที่

มี

คุ

ณภาพ