Previous Page  123 / 326 Next Page
Information
Show Menu
Previous Page 123 / 326 Next Page
Page Background

122

สืบโยดสาวย่าน

หนึ่

ง คื

อ ชาวเล หรื

อชาวไทยใหม่ ซึ่

งอาศั

ยอยู่ตามชายฝั่งทะเลและหมู่เกาะต่างๆ

แถบทะเล อันดามัน ทางภาคใต้ฝั่งตะวันตกของไทย นอกจากนี้ยังมีกลุ่มคนสอง

น�้

ำ จั

งหวั

ดระนอง และไทยทรงด�

ำ บ้านดอนรวบ จั

งหวั

ดชุ

มพร แต่ผลงานที่

จะน�

มาสั

งเคราะห์ ในที่

นี้

เป็

นเนื้

อหาเกี่

ยวกั

บกลุ่

มชาติ

พั

นธุ์

ชาวเลและซาไก ซึ่

งเป็

นกลุ่

ที่ได้รับความสนใจ และเลือกเป็นกรณีศึกษาในฐานะที่เป็นกลุ่มชนที่มีวิถีชีวิตและ

คุ

ณภาพชี

วิ

ตที่

แตกต่างไปจากชนกลุ่มใหญ่ของประเทศ

แม้กลุ่มชาติ

พั

นธุ์ซาไก มี

ชื่

อเรี

ยกขานหลากหลาย เช่น เงาะ เงาะป่า ซาแก

ซาไก โอรั

งอั

สลี

ชาวป่

า ไอ้

เกลอ พวกเขาเรี

ยกตั

วเองว่

า “มั

นนิ

” และเรี

ยกคนบ้

านที่

ติ

ดต่

อสั

มพั

นธ์

ว่

า“หะมิ

” และมี

ผลงาน ชื่

อ “ไม่

มี

เงาะซาไกในประเทศไทย” เสนอข้

โต้แย้งว่า ชาวพื้

นเมื

องภาคใต้ที่

อาศั

ยอยู่ตามป่าเขาจั

งหวั

ดพั

ทลุ

ง ตรั

ง สตูล ยะลา

และนราธิ

วาส ซึ่

งเรี

ยกกั

นว่

า “ซาไก” นั้

น ที่

ถูกคื

อเผ่

า “เซมั

ง” (บุ

ญเสริ

ม ฤทธาภิ

รมย์

และประสิ

ทธิ์

ฤทธาภิ

รมย์ : 2548) แต่ในการศึ

กษาครั้

งนี้

ขอใช้ชื่

อ กลุ่มชาติ

พั

นธุ์

“ซาไก”เนื่

องจากเป็

นชื่

อที่

ปรากฏในผลงานที่

น�ำมาสั

งเคราะห์

อี

กทั้

งยั

งเป็

นชื่

อที่

เป็

รู้จั

กกั

นทั่

วไป ส่วนอี

กกลุ่มชาติ

พั

นธุ์จะรู้จั

กกั

นในนามของ “ชาวเล” บ้างก็

แบ่งเป็น

3 กลุ่ม ได้แก่กลุ่มมอแกน มอแกลน และอูรั

กลาโว้ย บ้างก็

แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คื

กลุ่มมอแกน และอูรั

กลาโว้ย โดยกลุ่มมอแกน แบ่งย่อยเป็น มอแกนเกาะ (มอเก็

ปูเลา) กั

บมอแกนบก (มอเก็

นตามั

บ) ในที่

นี่

จะใช้เที

ยบเคี

ยงกั

นทั้

ง 2 แบบ คื

อมอ

แกน หมายถึ

งมอแกนเกาะ และมอแกลน หมายถึ

ง มอแกนบก เพื่

อคงชื่

อดั้

งเดิ

จากค�

ำบอกเล่าของมอแกนผู้สูงอายุ

ในอดี

ประเด็นที่สังเคราะห์

ประกอบด้

วย ประเภทและปริมาณงาน เนื้อหาและ

ข้อค้นพบ วิ

ธี

วิ

ทยา แนวคิ

ด ทฤษฎี

และวั

ตถุ

ประสงค์ของการศึ

กษา การแบ่งกลุ่ม

ซาไกและชาวเล ด้านเนื้

อหาจะแบ่งเป็นกลุ่มสั

งคม วั

ฒนธรรม ประวั

ติ

ศาสตร์ และ

กลุ่มอั

ตลั

กษณ์และความหลากหลายทางชาติ

พั

นธุ์

เนื้

อหากลุ่

มสั

งคม วั

ฒนธรรม ประวั

ติ

ศาสตร์

แบ่

งเป็

นประเด็

นย่

อย ด้

าน

ประวัติศาสตร์ นิ

ทาน ต�ำนาน การอพยพโยกย้าย แหล่งที่พักอาศัย และจ�ำนวน

ประชากร ประเพณี

ความเชื่

อและพิ

ธี

กรรม การศึ

กษา ภาษา และวรรณกรรม