32
โสวัฒนธรรม
การประเมิ
นสถานภาพการศึ
กษาความหลากหลายทางชาติ
พั
นธุ
์
นี้
จะช่
วยให้
เกิ
ดความเข้
าใจ และความรู้
แบบบูรณาการของความหลากหลายทางวั
ฒนธรรมของ
ภาคตะวั
นออกเฉี
ยงเหนื
อ ซึ่
งจะน�
ำไปสู่
การเสนอแนะเชิ
งนโยบายของรั
ฐบาลได้
อั
น
จะช่
วยให้
เกิ
ดการเข้
าใจ เข้
าถึ
ง และพั
ฒนากลุ่
มชาติ
พั
นธุ์
ต่
างๆ อย่
างยั่
งยื
นตลอดไป
2.2 พลวัตของวิถีชุมชนและอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธุ์
แนวความคิ
ดของพลวั
ตชุ
มชนชาติ
พั
นธุ
์
เป็
นการเน้
นการเปลี่
ยนแปลง
การปรั
บตั
ว การผสมผสาน การกลมกลื
นทางวั
ฒนธรรม ความหลากหลายทาง
วั
ฒนธรรม และวั
ฒนธรรมการพัฒนาของกลุ่มชาติ
พั
นธุ์ ท�
ำให้เห็
นพลวั
ตวิ
ถี
ชุ
มชน
ชาติ
พั
นธุ์ที่
ได้เปลี่
ยนแปลงไป ซึ่
งมี
ผลต่อโครงสร้างสั
งคมของแต่ละชุ
มชนชาติ
พั
นธุ์
ในวิ
ถี
ด�
ำรงชี
วิ
ตของชุมชนชาติ
พั
นธุ์เป็นอย่างมาก ปรากฏผลดั
งต่อไปนี้
แนวคิ
ดที่
นั
กวิ
จั
ยได้
ศึ
กษาวิ
จั
ยวั
ฒนธรรมที่
ส�
ำคั
ญแนวคิ
ดหนึ่
งคื
อ การ
เปลี่
ยนแปลงทางเศรษฐกิ
จและสั
งคม โดยนายสมศั
กดิ์
ศรี
สั
นติ
สุ
ข (2538-2539) ได้
ศึ
กษาวิ
ถี
ชี
วิ
ตทางเศรษฐกิ
จของชาวบ้านไทยญ้อ บ้านโพน ต�
ำบลโนนตาล อ�
ำเภอ
ท่าอุเทน จังหวัดนครพนม ได้เปลี่ยนแปลงไปจากอดีต เนื่องจากแต่ละครอบครัว
มี
อาชี
พอื่
นๆ มากขึ้
น ท�
ำให้มี
วิ
ถี
ชี
วิ
ตทางเศรษฐกิ
จที่
เปลี่
ยนแปลงไปจากเดิ
ม ตาม
อิ
ทธิ
พลของทุ
นนิ
ยมที่
เข้
าไปในหมู่
บ้
านเป็
นอย่
างมาก ส่
วนลั
กษณะการเปลี่
ยนแปลง
ทางสั
งคมได้แก่โครงสร้างครอบครัวและการอบรมเลี้
ยงดูบุ
ตรซึ่
งได้เปลี่
ยนแปลงไป
ฉั
นทนา จั
นทร์
บรรจง (2541) ได้
ศึ
กษาวิ
จั
ยพั
ฒนาทางสั
งคมของกลุ
่
ม
ชนพื้
นเมื
องเชื้
อสายไทยเลย ซึ่
งตั้
งอยู่
แถบพื้
นที่
ชายขอบของประเทศไทย ในจั
งหวั
ด
พิ
ษณุ
โลก เพชรบูรณ์
และจั
งหวั
ดเลย ได้
พบว่
า รูปแบบการพั
ฒนาสั
งคมในยุ
ค
ก่อนสุโขทัยจนถึงยุคต่อต้านคอมมิวนิสต์ไม่ได้เกิดขึ้นพร้อมกันทุกเมือง แต่พัฒนา
ต่
อเนื่
องจากภายในก่
อนพั
ฒนาเป็
นชุ
มชนถาวร จากระบบเศรษฐกิ
จแบบเกษตรกรรม
จนพั
ฒนาเป็นเศรษฐกิ
จที่
ต้องพึ่
งความเจริ
ญทางวั
ตถุ
มากขึ้
น